เทคนิคลดความเสี่ยง จาก ‘รอยเท้าดิจิทัล’

Loading

  ก่อนสิ้นปีที่ผ่านมาผมได้รับข้อความจากค่ายเพลง Spotify ที่เป็นสมาชิก เพื่อสรุปรายละเอียดการใช้ Spotify ของผมในรอบปีที่ผ่านมา บทสรุปมีรายละเอียดมากมายซึ่งคือ “รอยเท้าดิจิทัล” (Digital Footprint) ที่เกิดจากการใช้บริการบนโลกออนไลน์ของผม   ก่อนสิ้นปีที่ผ่านมาผมได้รับข้อความจากค่ายเพลง Spotify ที่เป็นสมาชิก เพื่อสรุปรายละเอียดการใช้ Spotify ของผมในรอบปีที่ผ่านมาว่า ฟังเพลงไปกี่นาที เพลงหรือศิลปินคนไหนบ้างที่ผมฟังมากที่สุด และใช้เวลาไปกี่นาที บทสรุปมีรายละเอียดมากมายซึ่งคือ “รอยเท้าดิจิทัล” (Digital Footprint) ที่เกิดจากการใช้บริการบนโลกออนไลน์ของผม   รอยเท้าดิจิทัล ที่ผมใช้บริการมีอยู่มากมายที่แอปต่าง ๆ เปิดให้ผมดูได้ ตั้งแต่การสั่งอาหาร หรือเรียกใช้บริการรถสาธารณะออนไลน์ ที่สามารถดูได้ว่าสั่งร้านใดไปเมื่อไร เดินทางไปไหน หรือ แม้แต่ว่าสั่งรายการอะไร มีข้อมูลบัตรทางด่วนที่เห็นรายละเอียดได้ว่าไปจ่ายที่ด่านไหน วันเวลาอะไร รวมถึงการทำธุรกรรมการเงินออนไลน์ เช่น การใช้พร้อมเพย์ โมบายแบงกิ้ง หรือการจ่ายเงินผ่านดิจิทัลวอลเล็ตอย่าง True Money ที่จะเห็นรายละเอียดต่างๆ   นอกจากนี้หากไปดูข้อมูลในโซเชียลมีเดียต่างๆ ที่ผมใช้บริการจะมีรอยเท้าดิจิทัลของผมอีกว่า ผมโพสต์ข้อมูลใดบ้าง เมื่อไร ผมไปกดไลค์ข้อความไหน ใครเป็นเพื่อนผมบ้าง…

‘รอยเท้าดิจิทัล’ จากทำธุรกรรมออนไลน์ ‘ความจำเป็น และ ‘ความเสี่ยง’

Loading

ในยุคดิจิทัลที่ทุกสิ่งทุกอย่างถูกเชื่อมต่อผ่านอินเทอร์เน็ต การทำธุรกรรมออนไลน์ตั้งแต่สั่งซื้อสินค้า สั่งอาหาร การเรียกบริการรถ และการใช้บัตรทางด่วน กำลังเป็นที่นิยมมากขึ้น ตลอดจนการชำระเงินผ่าน QR Code หรือพร้อมเพย์โดยใช้โมบายล์แบงกิ้งหรือดิจิทัลวอลเล็ต รวมถึงการชำระเงินผ่านบัตรเครดิตหรือเดบิต ก็กลายเป็นเรื่องปกติที่ผู้คนอยากจะใช้เงินสดน้อยลง

‘แฮ็กเกอร์’ระบาด ข้อมูลรั่ว..ใครรับผิดชอบ

Loading

  องค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ รวมไปถึงองค์กรธุรกิจขนาดใหญ่ที่กุม “ความลับ” ของคน ลูกค้า ผู้ใช้บริการเอาไว้ ต้องไม่นิ่งนอนใจ หาทางรับมือป้องกันการรั่วไหล หรือการถูกโจมตีจากบรรดาแฮกเกอร์ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ จะต้องทุ่มงบประมาณมากสักเท่าไหร่ในการรับมือ “ก็ต้องทำ   ประเทศไทยมีแนวโน้มการโจมตีทางไซเบอร์ที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ทั้งเชิงปริมาณและความรุนแรง   เหตุการณ์ภัยคุกคามด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ทวีความรุนแรงมากขึ้น รูปแบบการโจมตีมีแนวโน้มพัฒนาตามเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป   ภัยคุกคามเหล่านี้ ส่งผลต่อความมั่นคงของรัฐ ความสงบเรียบร้อยของสังคมเศรษฐกิจของประเทศ   ยิ่งเราต้องพึ่งพาเครื่องมือดิจิทัลในชีวิตประจำวันมากขึ้นเท่าไหร่ ยิ่งมีความเสี่ยงจากการถูกโจมตีทางไซเบอร์เพิ่มมากขึ้นไปด้วย ผู้ที่ตกเป็นเหยื่อ สูญเสียข้อมูลที่มีความสำคัญ สูญเสียทรัพย์สินเงินทอง สูญเสียชื่อเสียง   ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา ประเด็นหนึ่งที่ยังวนเวียนอยู่ในสังคมไทย และเป็นประเด็นที่ทุกคนต้องตระหนักให้มาก คือ การรั่วไหลของข้อมูลส่วนบุคคล จะทั้งข้อมูลอ่อนไหว หรือ ไม่อ่อนไหว ก็ไม่ควรหลุดออกมา สร้างความเสียหาย หวาดกลัวให้กับเจ้าของข้อมูล   องค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ รวมไปถึงองค์กรธุรกิจขนาดใหญ่ที่กุม “ความลับ” ของคน ลูกค้า ผู้ใช้บริการเอาไว้ ต้องไม่นิ่งนอนใจ หาทางรับมือป้องกันการรั่วไหล หรือการถูกโจมตีจากบรรดาแฮกเกอร์ทั้งในประเทศ…

เตือนภัย! ทิ้งรอยเท้าไว้ในโลกดิจิทัล

Loading

    วันที่ 21 มี.ค.66 ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ประเทศไทย | Anti-Fake News Center Thailand แจ้งว่า ระวังให้ดี! สื่อออนไลน์ไม่ใช่พื้นที่ส่วนตัว   สิ่งที่เราทำลงไปในโลกดิจิทัล เช่น การโพสต์ การแชร์ การแสดงความคิดเห็น ข้อมูลเหล่านี้จะถูกบันทึกไว้ในประวัติข้อมูลของเรา เปรียบเสมือนเป็นการฝากรอยเท้าไว้ในโลกดิจิทัล เพราะฉะนั้นอย่าคิดว่าไม่ใช่คนดัง ไม่ใช่ดาราแล้วจะไม่มีใครสนใจ อาจเดือดร้อนได้จากสื่อออนไลน์   รอยเท้าดิจิทัล คือ การโพสต์ แชร์ แสดงความคิดเห็น เช็คอิน ข้อมูลส่วนตัว เลขบัตรต่างๆ เบอร์โทร, ภาพถ่าย ความสัมพันธ์กับผู้คน   อันตรายที่จะเกิดขึ้นจากรอยเท้าดิจิทัล ถูกปลอมสำเนาการเงิน เอกสารราชการ บัตรประชาชน เสียภาพพจน์ ถูกปลอมบัญชีโซเชียลมีเดียต่างๆ   วิธีจัดการ ลบประวัติการค้นหาและการเข้าถึง ตั้งรหัสผ่านที่ยากต่อการคาดเดา อย่าคลิกลิงก์ที่ไม่น่าไว้ใจ ไม่แชร์ข้อมูลที่ไม่จำเป็น ตรวจสอบบัญชีเชื่อมโยง      …