ด่วน! เมียนมา สั่งอพยพคนใน 15 หมู่บ้าน รอบเมืองเอกรัฐยะไข่

Loading

สำนักข่าวต่างประเทศรายงานจากเมืองย่างกุ้ง ประเทศเมียนมา เมื่อวันที่ 15 มิ.ย. ว่า สื่อท้องถิ่นหลายแห่งของเมียนมารายงานว่า รัฐบาลทหารเมียนมามีคำสั่งให้ประชาชนในหมู่บ้าน 15 แห่ง รวมราว 3,500 คน ที่ตั้งอยู่รอบเมืองซิตตเว ซึ่งเป็นเมืองเอกของรัฐยะไข่ อพยพออกจากพื้นที่ภายใน 5 วัน ซึ่งครบกำหนดแล้ว เมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา โดยให้ย้ายไปพักพิงชั่วคราว ที่ศูนย์ในเมืองซิตตเว

พลวัตสงครามเมียนมาต่อไทย

Loading

สถานการณ์สงครามกลางเมืองในเมียนมา เป็นหนึ่งในปัญหาความมั่นคงไทยที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ และเป็นหนึ่งในประเด็นที่ถูกตั้งคำถามอย่างมากว่า “ไทยจะเอาอย่างไรกับปัญหาสงครามในเมียนมา?” … จนถึงวันนี้ เรายังไม่เห็นสิ่งที่เป็นข้อสรุปจากข้อถกแถลงในระดับนโยบาย ที่ใช้เป็นทิศทางบ่งบอกถึง “ท่าที-จุดยืน” ของประเทศไทยต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในเมียนมาแต่อย่างใด

กองทัพเมียนมา กับการเกณฑ์ทหารครั้งใหญ่

Loading

เมื่อ 10 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา รัฐบาลทหารเมียนมาประกาศการให้มีการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยการรัราชการทหารของประชาชน ฉบับปี 2010 (2010 People’s Military Service Law) เพื่อให้มีการเกณฑ์ทหารครั้งใหม่ทั่วประเทศ รายงานของ กเวน โรบินสัน กับ อ่อง นายโซ แห่งนิกเกอิเอเชีย ที่เผยแพร่เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ สะท้อนปฏิกิริยาที่น่าสนใจอย่างยิ่งของผู้ที่ตกอยู่ในข่ายถูกเกณฑ์เข้าสู่กองทัพในครั้งนี้

รัฐบาลทหารเมียนมาประกาศกฎหมายบังคับหนุ่มสาวอายุตั้งแต่ 18 ปี รับราชการทหาร

Loading

รัฐบาลทหารเมียนมาประกาศกฎหมายรับราชการทหาร สำหรับประชาชนหนุ่มสาวทุกคน โดยกำหนดให้ผู้ชายที่อายุตั้งแต่ 18-35 ปี และผู้หญิงที่อายุตั้งแต่ 18-27 ปี ต้องรับใช้ชาติเป็นเวลา 2 ปี และในระหว่างที่ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินยังบังคับใช้ ระยะเวลารับใช้ชาติอาจขยายเป็นระยะเวลา 5 ปี

เมียนมาสั่งประหารชีวิต 3 นายพล เหตุยอมจำนนกลุ่มต่อต้าน

Loading

ก่อนหน้านี้มีรายงานว่า รัฐบาลทหารเมียนมาสั่งปลดนายพล 6 นาย ที่ยอมจำนนต่อกองทัพพันธมิตรประชาธิปไตยแห่งชาติเมียนมา (MNDAA) หรือกลุ่มโกก้าง ทำให้เสียเมืองเล่าก์ก่าย ทางตอนเหนือของรัฐฉาน วันที่ 24 ม.ค. มีแหล่งข่าวใกล้ชิดรัฐบาลทหารเมียนมาเปิดเผยว่า รัฐบาลได้ตัดสินประหารชีวิตนายพล 3 นายแล้ว

ผู้นำพม่าโบ้ยอังกฤษต้นตอปัญหาของความวุ่นวายที่เกิดขึ้น

Loading

ผู้บัญชาการทหารสูงสุดเมียนมาและผู้นำรัฐบาลเมียนมา กล่าววิพากษ์วิจารณ์ว่า ความวุ่นวายที่เกิดขึ้นในเมียนมา ย่อมมองได้ว่าเป็นผลกระทบจากนโยบาย “แบ่งแยกและปกครอง” ของอังกฤษในสมัยที่เป็นเจ้าอาณานิคม เข้ามาจัดการสนับสนุนกองกำลังติดอาวุธกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ