ระวังอ้างเป็นคราวด์สไตรก์หลอกต้มตุ๋น

Loading

CISA ยังได้กำชับให้องค์กรต่างๆ เตือนพนักงานหลีกเลี่ยงการคลิกอีเมลฟิชชิ่งหรือลิงก์ที่น่าสงสัย ทั้งนี้ให้เฝ้าระวังและปฏิบัติตามคำแนะนำจากแหล่งที่มาที่ถูกต้องเท่านั้น

ใครว่าเครื่อง Macintosh แฮ็กไม่ได้? แฮ็กเกอร์เริ่มใช้โฆษณาหลอกลวงเพื่อแพร่กระจายมัลแวร์ Stealer เข้า MacOS

Loading

เว็บไซต์ The Hacker News พบว่า ปัจจุบันนั้นกลุ่มแฮ็กเกอร์ได้ค้นพบวิธีการโจมตีเครื่องคอมพิวเตอร์ตระกูล Mac ด้วยวิธีใหม่ ซึ่งเป็นการใช้โฆษณา และเว็บไซต์ปลอม ที่จะทำให้เครื่อง Mac นั้นติดมัลแวร์ขโมยข้อมูล (Stealer)

เลิกส่ง link แฮ็กเกอร์ใช้ QR Code จ้องขโมยข้อมูลผ่านอีเมล

Loading

  เชื่อเถอะว่า แม้เราจะมีระบบป้องกันที่ดีมากแค่ไหน แฮ็กเกอร์เค้าก็จะพยายามหารูปแบบการโจมตีทีหลีกเลี่ยงระบบป้องกันไปให้ได้ โดยล่าสุดมีความพยายามจะโจมตีฟิชชิ่ง ด้วยการใช้ภาพ QR Code   ปกติแล้ว บริการอีเมลต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น Gmail หรือ Outlook เค้าจะมีระบบตรวจสอบฟิชชิ่ง ซึ่งจะใช้ AI ในการคัดกรองข้อความ หากพบว่าเป็นฟิชชิ่งที่มีลิงก์แนบมา ก็จะลบออกหรือแจ้งให้ผู้ใช้รู้ก่อนคลิก   แล้วอีเมลฟิชชิ่งหน้าตาเป็นแบบไหน ? ส่วนใหญ่ก็มักจะอ้างว่า เป็นฝ่ายสนันสนุนของ Microsoft , Google หรืออื่น ๆ พร้อมกับสร้าง   Story หลอกให้เรากดลิงก์ เช่น “สวัสดี นี่คือฝ่ายสนับสนุนของ Microsoft คุณต้องยืนยันการใช้งานรหัสแบบสองขั้นตอน ในทันที ไม่งั้นบัญชีของคุณอาจถูกล็อก” พร้อมกับส่งลิงก์ให้   ซึ่งถ้าเป็นข้อความในลักษณะข้างต้น Microsoft จะทำการบล็อคไปครับ แต่ตอนนี้แฮ็กเกอร์เปลี่ยนวิธีจากการใส่ลิงก์ มาเป็นการส่งภาพ QR Code ให้เราสแกน ทำให้สามารถหลีกเลี่ยงระบบตรวจจับไปได้ หากเราสแกน…

หลอกให้โหลด โจมตีรูปแบบใหม่ Dormant Colours

Loading

  นักวิจัยที่ Guardio Labs ได้ตรวจพบแคมเปญการโจมตีใหม่โดยใช้งานส่วนขยายของ Chrome Web Store เป็นสื่อกลางในการเข้าถึงผู้ใช้งาน   ส่วนขยายทั้งหมดเป็นตัวเลือกที่ให้ผู้ใช้เปลี่ยนสีต่าง ๆ ของหน้าเว็บเบราว์เซอร์ ซึ่งมีมากกว่า 30 ตัว และมียอดดาวน์โหลดรวมกันมากกว่า 1 ล้านครั้ง   แอปทั้งหมดสามารถผ่านระบบตรวจสอบของ Google เบื้องต้นได้ เพราะแอปเหล่านี้จะทำตัวเองให้ดูเหมือนว่าปลอดภัย ซึ่งจะสามารถหลบเลี่ยงการตรวจสอบความปลอดภัยได้ นักวิเคราะห์จึงตั้งชื่อแคมเปญนี้ว่า “Dormant Colours” (Dormant แปลว่า สงบเงียบ หรืออยู่เฉย ๆ )   การติดไวรัสเริ่มต้นด้วยการที่ผู้ใช้คลิกโฆษณาหรือลิงก์แปลก ๆ เช่นลิงก์ดูวีดิโอหรือลิงก์โหลดโปรแกรม โดยเมื่อคลิกไปแล้ว เราจะถูกเปลี่ยนเส้นทางไปจากหน้าต่างใหม่ที่พยายามจะให้เราติดตั้งส่วนขยายเพิ่มเติม เพื่อให้สามารถเปิดดูวีดิโอได้หรือดาวน์โหลดโปรแกรมได้สำเร็จครับ   แน่นอนว่า ในการติดตั้งนั้นจะไม่มีมัลแวร์ติดตั้ง แอปจะทำหน้าที่ของมันตามปกติ แต่เมื่อติดตั้งไปสักพัก ส่วนขยายเหล่านี้จะพยายามดาวน์โหลดส่วนเสริมที่อันตรายมาติดตั้งในเครื่อง หรือแม้กระทั่งแทรกลิงก์ฟิชชิ่งที่พยายามจะขโมยบัญชี Microsoft 365 หรือ Google Workspace ครับ  …