กลุ่มไทยออยล์ ร่วมกับทัพเรือภาคที่ 1 ฝึกซ้อมใหญ่แผนรักษาความปลอดภัยเรือ
กลุ่มไทยออยล์ ร่วมกับทัพเรือภาคที่ 1 กองทัพเรือ ฝึกซ้อมใหญ่แผนรักษาความปลอดภัยเรือและท่าเรือ NASSEX Security Sriracha Exercise 2024
กลุ่มไทยออยล์ ร่วมกับทัพเรือภาคที่ 1 กองทัพเรือ ฝึกซ้อมใหญ่แผนรักษาความปลอดภัยเรือและท่าเรือ NASSEX Security Sriracha Exercise 2024
หลังจาก ศรชล.ภาค ๓ ได้ประสานความร่วมมือกับ GISTDA และหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง ส่งผู้เชี่ยวชาญร่วมวางแผนการเก็บกู้ถังเชื้อเพลิงของจรวดที่ถูกนำส่งขึ้นสู่อวกาศ โดยค้นพบที่บริเวณเกาะแอล จังหวัดภูเก็ต จนภารกิจสำเร็จลุล่วงไปแล้วเมื่อ 17 พฤษภาคมที่ผ่านมา เรื่องดังกล่าว ถือเป็นเรื่องสำคัญที่มีความเกี่ยวข้องกับ “กฎหมายอวกาศ” ถึงแม้วัตถุอวกาศที่ตกมาสู่พื้นโลกจะไม่ได้สร้างความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สิน แต่กฎหมายอวกาศหรือข้อตกลงทางด้านอวกาศได้มีการกล่าวถึงรายละเอียดของการชดใช้ความเสียหายที่เกิดจากจรวด หรือดาวเทียม หรือสถานีอวกาศ ซึ่งประเทศที่เป็นเจ้าของวัตถุนั้น จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบชดใช้ค่าเสียหายดังกล่าวที่เกิดขึ้น ดร.ปกรณ์ อาภาพันธุ์ ผู้อำนวยการ GISTDA กล่าวว่า เรื่องนี้เคยมีการพูดถึงหลายครั้ง โดยเฉพาะกฎหมายอวกาศกับเหตุการณ์แบบนี้ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยของเราอยู่บ่อย ๆ ก็จะขอย้ำว่า สนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านอวกาศของสหประชาชาติ มีอยู่ 5 ฉบับ ประกอบด้วย สนธิสัญญาว่าด้วยหลักเกณฑ์การดำเนินกิจการของรัฐในการสำรวจและการใช้อวกาศภายนอก รวมทั้งดวงจันทร์ และเคหะในท้องฟ้าอื่น ๆ ค.ศ. 1967 อีกฉบับคือความตกลงว่าด้วยการช่วยชีวิตนักอวกาศ การส่งคืนนักอวกาศ และการคืนวัตถุที่ส่งออกไปในอวกาศภายนอก ค.ศ. 1968 อนุสัญญาว่าด้วยความรับผิด ระหว่างประเทศสำหรับความเสียหายที่เกิดจากวัตถุอวกาศ ค.ศ.1972 อนุสัญญาว่าด้วย การจดทะเบียนวัตถุอวกาศ ค.ศ.1975…
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว