ดีอี เตือนอย่าแชร์ข่าวปลอมแอปฯ ทางรัฐ ย้ำมีหน้าที่เชื่อมโยงข้อมูลเท่านั้น
ดีอี เปิดเผยว่า จากการตรวจสอบข่าวปลอมรายสัปดาห์ พบว่า เรื่องที่ประชาชนให้ความสนใจสูงสุด จะเกี่ยวกับแอปฯ ทางรัฐ
ดีอี เปิดเผยว่า จากการตรวจสอบข่าวปลอมรายสัปดาห์ พบว่า เรื่องที่ประชาชนให้ความสนใจสูงสุด จะเกี่ยวกับแอปฯ ทางรัฐ
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ระดม 400 หน่วยงาน รุกปราบ “ข่าวปลอม” ตัดวงจร โจรออนไลน์
รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ออกมาย้ำเตือน ประชาชนอย่าหลงเชื่อข้อมูลที่ผิดพลาด ประเด็นเรื่อง “ปตท. ปลอมแปลงผลิตภัณฑ์น้ำมันเครื่อง” โดยการตรวจสอบข้อเท็จจริงจาก บริษัท ปตท. น้ำมันและการค้าปลีก จำกัด (มหาชน) กระทรวงพลังงาน พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น “เป็นข้อมูลเท็จ”
รัฐมนตรีดีอี เผยผลดำเนินงาน “ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม” (Anti Fake News Center) พร้อมวางนโยบายทำงานเชิงรุกให้คนไทย สร้างวัฒนธรรมการรับรู้ข้อมูลข่าวสารอย่างมีวิจารณญาณ ก่อนแชร์ต่อในโลกออนไลน์ รัฐบาลให้ความสำคัญและมุ่งเน้นการจัดการข้อมูลที่เป็นเท็จทางสื่อออนไลน์
ดีอีเอส ออกโรงเตือนประชาชนระวังโจรไซเบอร์ หลังประชาชนแห่สนใจเรื่องการกู้เงินออนไลน์ให้วงเงินสูง ปลอดดอกเบี้ย หลังมิจฉาชีพปลอมตัวเป็นธนาคารออมสิน ปล่อยสินเชื่อเงินกู้ฉุกเฉิน ขณะที่ข่าวปลอม ครม. อนุมัติถอนเงินชราภาพได้ก่อน 30% กดรับสิทธิผ่านลิงก์ ขึ้นแท่นข่าวปลอมที่คนสนใจสูงสุด ดร.เวทางค์ พ่วงทรัพย์ รองปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส) และโฆษกกระทรวงดีอีเอส เปิดเผยว่า ผลการมอนิเตอร์และรับแจ้งข่าวปลอมของศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ระหว่างวันที่ 12-18 พฤษภาคม 66 พบข้อความที่เข้ามาทั้งหมด 3,189,887 ข้อความ โดยมีข้อความที่ต้องดำเนินการตรวจสอบ (Verify) ทั้งสิ้น 274 ข้อความ โดยช่องทางที่มีการพบเบาะแสมากที่สุด คือ ข้อความที่มาจาก Social listening จำนวน 240 ข้อความ ตามมาด้วยการแจ้งเบาะแสผ่าน Line Official จำนวน 34 ข้อความ รวมเรื่องที่ต้องดำเนินการตรวจสอบทั้งหมด 189 เรื่อง และจากการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้รับผลการตรวจสอบกลับมาแล้ว 85 เรื่อง…
ดีอีเอส พบข่าวปลอม 1 ใน 3 ได้แก่ 10 พ.ค. 66 ปรับเบี้ยผู้สูงอายุเพิ่ม 3,000 บาท สูงสุด 3 เดือน รองลงมาเป็นข่าวลวง เครื่องดื่มผักเชียงดา ตรามณีชา ตัวช่วยลดน้ำตาล ปรับสมดุลความดันให้เป็นปกติได้ และลดไขมันสะสมได้ และผลิตภัณฑ์ Rich Skin กำจัด ริ้วรอย อ่อนกว่าวัย ไม่ต้องทำศัลยกรรม นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ รองปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส) และโฆษกกระทรวงฯ ฝ่ายข้าราชการประจำ กล่าวถึง ผลการมอร์นิเตอร์และรับแจ้งข่าวปลอมของศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ระหว่างวันที่ 28 เมษายน – 4 พฤษภาคม 2566 พบข้อความที่เข้ามาทั้งหมด 3,207,970 ข้อความ โดยมีข้อความที่ต้องดำเนินการตรวจสอบ (Verify) ทั้งสิ้น 164 ข้อความ …
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว