ควรกังวลแค่ไหน? หลังญี่ปุ่นเตือนอาจเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงสุดในรอบศตวรรษ
หลังญี่ปุ่นประกาศเตือนอาจเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงสุดในรอบ 100 ปีบริเวณ “ร่องธรณีนันไค” ได้ทำให้เกิดข้อถกเถียงว่า เป็นการเตือนที่เกินความจำเป็นหรือไม่
หลังญี่ปุ่นประกาศเตือนอาจเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงสุดในรอบ 100 ปีบริเวณ “ร่องธรณีนันไค” ได้ทำให้เกิดข้อถกเถียงว่า เป็นการเตือนที่เกินความจำเป็นหรือไม่
ทางการญี่ปุ่นประกาศเตือนภัยสึนามิ หลังเกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 7.1 ด้านสถานกงสุลใหญ่ ณ เมืองฟูกูโอกะ แนะนำชาวไทยในพื้นที่ปฏิบัติตามคำแนะนำของทางการท้องถิ่นอย่างเคร่งครัด
นักวิจัยศูนย์วิจัยแผ่นดินไหวแห่งชาติ เตือนไทยประมาทไม่ได้ พื้นที่ติดชายฝั่งทะเลอันดามัน ยังเสี่ยงต่อการเกิดสึนามิซ้ำรอยปี 2547 แนะซักซ้อมเหตุการณ์เป็นระยะ ตรวจสอบระบบเตือนภัยให้อยู่ในสภาพให้ใช้งานได้ดีตลอดเวลา ศ.อมร พิมานมาศ นักวิจัยศูนย์วิจัยแผ่นดินไหวแห่งชาติ ศ.อมร พิมานมาศ นายกสมาคมวิศวกรโครงสร้างแห่งประเทศไทย และนักวิจัยศูนย์วิจัยแผ่นดินไหวแห่งชาติ เปิดเผยว่า เหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 7.6 ที่จังหวัดอิชิกาวะ บนเกาะฮอนชู ทางตอนกลางของประเทศญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 1 ม.ค.2567 ที่ผ่านมา ถือเป็นธรณีพิบัติที่รุนแรงมากและอยู่ในระดับตื้นมาก เพียง 10 กิโลเมตร ทำให้เกิดความเสียหายกับอาคารบ้านเรือน โครงสร้างพื้นฐาน และโดยเฉพาะอย่างยิ่งถนนเป็นจำนวนมาก ทั้งยังทำให้เกิดคลื่นสึนามิความสูง 1.2 เมตร ซัดเข้าหาชายฝั่งเมืองวาจิมะ จังหวัดอิชิกาวะ ซึ่งผลของแผ่นดินไหวดังกล่าวจะยังคงเกิดอาฟเตอร์ช็อกตามมาอีกหลายวัน อย่างไรก็ตาม ด้วยระยะห่างจากประเทศไทย 4,000-5,000 กิโลเมตร จึงไม่ส่งผลกระทบต่อประเทศไทย “ก่อนหน้านี้เมื่อเดือนมีนาคม 2554 ได้เคยเกิดแผ่นดินไหวโตโฮคุขนาด 9.0-9.1 นอกชายฝั่งด้านตะวันออกของคาบสมุทรโอชิกะในเขตโตโฮคุ ประเทศญี่ปุ่น ทำให้เกิดคลื่นสึนามิมีความสูงถึง 40 เมตร พัดเข้าชายฝั่งจังหวัดเซ็นได…
สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น แจ้งว่าด้วยวันนี้ 1 มกราคม 2567 เวลาประมาณ 16.16 น. ตามเวลาท้องถิ่นในญี่ปุ่น เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.6 แมกนิจูดโดยมีศูนย์กลางในพื้นที่เขตโนโตโจ จังหวัดอิชิคาวะ ซึ่งห่างจากกรุงโตเกียวประมาณ 526 กิโลเมตร โดยกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นประกาศเตือนว่าอาจเกิดคลื่นสึนามิ ความสูง 3-5 เมตร
ทำความรู้จักแอปพลิเคชัน “Earthquake TMD” ที่พัฒนาโดยคนไทย นอกจากแจ้งเตือนแผ่นดินไหวแล้ว ยังมาพร้อมเบอร์ติดต่อหน่วยงาน-วิธีปฏิบัติเมื่อเกิดแผ่นดินไหว! จากกรณีการเกิดแผ่นดินไหว ขนาด 6.4 ริกเตอร์ ที่เกิดจากรอยเลื่อนเชียงตุง จนรู้สึกถึงแรงสั่นสะเทือนได้ในหลายจังหวัดของภาคเหนือ
แม้แผ่นดินไหวในญี่ปุ่นอาจฟังดูเป็นเรื่องไกลตัว แต่ก็ไม่แน่ว่าวันหนึ่งอาจมีเหตุให้เราไปอยู่ญี่ปุ่นในเวลานั้นก็ได้ ไม่ว่าจะท่องเที่ยว ศึกษาดูงาน ต่อเครื่อง เรียนต่อ ทำงาน หรืออยู่อาศัย อีกทั้งอภิมหาแผ่นดินไหวแนวแอ่งนังไกที่นักธรณีวิทยาญี่ปุ่นคาดว่าจะมาในทศวรรษที่ 2030 ก็อาจจะมาถึงก่อนเวลาได้อีกเช่นกัน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว