มุกใหม่โจรออนไลน์ อ้างเป็นค่ายมือถือ แก้เน็ตช้า

Loading

เพจ Drama-addict เผยกลโกงมิจฉาชีพรูปแบบใหม่ “ใครใช้มือถือแล้วมีปัญหา แล้วไปคอมเมนต์ไว้ในเพจผู้ให้บริการ ระวังด้วย เพราะมิจฉาชีพอาจทำเพจปลอมทักไปหาผู้เสียหาย อ้างว่าเป็นตัวแทนจากผู้ให้บริการ แล้วหลอกลวงเหยื่อ ผู้ใช้งานส่วนหนึ่งตั้งข้อสังเกตว่าอินเทอร์เน็ตที่ตนใช้งานอยู่มีความเร็วลดลง จนทำให้มีเพจปลอมทักเข้ามา

อ้างตำรวจไซเบอร์ เปิดเพจรับแจ้งความ หลอกผู้เสียหายซ้ำ แนะจุดสังเกตเป็นมิจฉาชีพ

Loading

วันที่ 9 ม.ค. 67 เรียกว่าแก๊งมิจฉาชีพ ปรับเล่ห์เหลี่ยมมาหลอกเงินจากคนที่หลงเชื่อไม่เว้นแต่ละวัน ล่าสุด พบว่ามีการปลอมเฟซบุ๊กเป็นหน่วยงานของตำรวจไซเบอร์ เพื่อรับแจ้งความออนไลน์ เหมือนเป็นการหลอกผู้เสียหายซ้ำไปอีก

วิธีสังเกตและรับมือมิจฉาชีพ​ที่ปลอมเบอร์โทร​เป็นสถานเอกอัครราชทูตไทย

Loading

    วิธีสังเกตและรับมือมิจฉาชีพ​ที่ปลอมเบอร์โทร​เป็นสถานเอกอัครราชทูตไทย หลังพบเบอร์สถานเอกอัครราชทูตไทยหลอกลวงคนไทยในสหราชอาณาจักรและไอร์แลนด์ ขอให้เพิ่มความระมัดระวัง และหลีกเลี่ยงการรับสายโทรศัพท์จากบุคคลและหมายเลขแปลก ๆ ที่ไม่คุ้นเคยเพราะบุคคลนั้นอาจเป็น “มิจฉาชีพ”   สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงลอนดอน   ทั้งนี้ สถานเอกอัครราชทูตฯ ไม่มีนโยบายสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลทางโทรศัพท์ อย่าหลงเชื่อเด็ดขาด และไม่ได้ใช้เบอร์โทรนี้ในการติดต่อ โดยจะติดต่อทาง 02072255500 เท่านั้น สำหรับการแจ้งเบาะแสกรณีคนไทยอยู่ไอร์แลนด์ หรือสหราชอาณาจักร แล้วโดนมิจฉาชีพโทรมา สามารถแจ้งได้ที่ตำรวจท้องถิ่น โทร 101 และเว็บไซต์ตำรวจของสหราชอาณาจักรตามข้างบน   หากสงสัย ตรวจสอบข้อมูลกับสถานเอกอัครราชทูตฯ ติดต่อได้ทางอีเมล csinfo@thaiembassyuk.org.uk   Royal Thai Embassy 29-30 Queen’s Gate London SW7 5JB London.thaiembassy.org   Facebook ThaiEmbLondon Tel: 02072255500 Email: csinfo@thaiembassyuk.org.uk     อ้างอิง …

ตร.เตือน 6 ภัยออนไลน์ส่งท้ายปี ที่มิจฉาชีพฉวยโอกาสหลอกหลวงประชาชน

Loading

สำนักงานตำรวจแห่งชาติ จึงขอเอาโอกาสนี้มาเตือนพี่น้องประชาชนให้ระมัดระวังตนเอง เพื่อไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของกลุ่มมิจฉาชีพ เพราะอย่าลืมว่า แม้จะเป็นวันหยุด แต่มิจฉาชีพไม่เคยหยุด ซึ่งรูปแบบของภัยออนไลน์ที่พี่น้องประชาชนต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ ในช่วงส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่

5 คดีแก๊งคอลเซ็นเตอร์ประจำปี 66 อาชญากรรมไซเบอร์ดูดเงินคนไทยกว่า 4 หมื่นล้าน

Loading

  5 คดีแก๊งคอลเซ็นเตอร์ประจำปี 2566 อาชญากรรมไซเบอร์ที่ดูดเงินคนไทยกว่า 4 หมื่นล้านบาทต่อปี   ต้องยอมรับว่า ‘มิจฉาชีพ’ มีหลากหลายรูปแบบและสามารถเข้าถึงตัวเราได้ในหลายช่องทาง ยิ่งในยุคนี้ที่การสื่อสารเปิดกว้าง แทบจะทุกคนมีโทรศัพท์เป็นของตัวเอง ในส่วนของข้อดีโทรศัพท์ได้ช่วยทำให้การติดต่อระหว่างกันเป็นไปได้สะดวกง่ายขึ้น แต่ส่วนภัยร้ายที่แฝงมาก็อาจทำให้เกิดความสูญเสียจนถึงชีวิตได้เช่นกัน   ก่อนจะพูดถึง 5 คดีความเสียหายหายที่เกิดจาก ‘แก๊งคอลเซ็นเตอร์’ ทีมข่าว TNN Online ได้สรุปตัวเลขเหตุอาชญากรรมทางเทคโนโลยีมาให้พิจารณา ซึ่งในระยะเวลาเพียง 1 ปีเท่านั้น คนไทยต้องสูญเสียทรัพย์สินให้กับการหลอกลวงรูปแบบนี้ไม่ต่ำกว่า 4.5 หมื่นล้านบาท   อ้างอิงสถิติแจ้งความออนไลน์จากเว็บไซต์ www.thaipoliceonline.com ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 – 30 กันยายน 2566 มีจำนวน 365,547 เรื่อง   แบ่งเป็นคดีออนไลน์ จำนวน 336,896 เรื่อง รวมมูลค่าความเสียหาย 45,738,507,864 บาท ตำรวจติดตามอายัดบัญชีได้ 167,347 บัญชี…

จาก เหยื่อค้ามนุษย์ (ถูกบังคับ)สู่ แก๊งคอลเซ็นเตอร์ เรื่องร้ายที่น่ากลัว

Loading

ช่วงที่มีการตื่นตัวเรื่อง แก๊งคอลเซ็นเตอร์ ในประเทศไทยสำนักข่าวแห่งหนึ่งเคยตรวจสอบเจอว่า คนที่โทรมาหลอกลวงเรา ก็มีคนไทยที่ตกเป็นเหยื่อการค้ามนุษย์ ถูกส่งไปต่างแดนเพื่อหวังรายได้สูง ๆ แต่กลับถูกล่อลวงให้ทำงานเป็น แก๊งคอลเซ็นเตอร์ หลบหนีก็ไม่ได้ และก็ไม่รู้ว่าทางรอดจะอยู่ตรงไหนด้วยเช่นกัน