ทำความรู้จัก ‘ตำรวจ PCT’ มีบทบาทหน้าที่อะไร จับกุมใครได้บ้าง

Loading

ต้องยอมรับว่าชื่อของ “ตำรวจ PCT” กลายเป็นที่จับตามองขึ้นมาทันที พร้อมตั้งคำถามกับความสงสัยถึงบทบาทหน้าที่ “ตำรวจ PCT” (พีซีทีโฟล์) หรือ “ตำรวจ PCT4” ว่ามีความสำคัญและเกี่ยวข้องกับคดีอาชญากรรมประเภทใดบ้าง ทำไมถึงเข้ามาทำคดีที่เกี่ยวกับเว็บพนันออนไลน์

‘ดีอี’ วาง 3 นโยบาย ‘ศูนย์เฟคนิวส์’ ทำงานเชิงรุกช่วยคนไทยมีภูมิคุ้มกันทางออนไลน์

Loading

รัฐมนตรีดีอี เผยผลดำเนินงาน “ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม” (Anti Fake News Center) พร้อมวางนโยบายทำงานเชิงรุกให้คนไทย สร้างวัฒนธรรมการรับรู้ข้อมูลข่าวสารอย่างมีวิจารณญาณ ก่อนแชร์ต่อในโลกออนไลน์ รัฐบาลให้ความสำคัญและมุ่งเน้นการจัดการข้อมูลที่เป็นเท็จทางสื่อออนไลน์

การหลอกลวงทั่วโลกพุ่ง 10.2% ‘Whoscall’ เตือนระวัง มิจฉาชีพใช้ AI ปลอมเสียง

Loading

Gogolook ผู้พัฒนาแอปพลิเคชัน Whoscall และผู้ให้บริการทางด้านเทคโนโลยี เพื่อความเชื่อมั่น (TrustTech) เตือนภัยมิจฉาชีพในประเทศไทยเริ่มใช้วิธีหลอกลวงใหม่ด้วยเทคโนโลยี AI ปลอมเสียง

อึ้ง สาวโกงค่าจ้างทำงานควบ16บริษัทพร้อมกัน ไม่มีใครรู้ ฟันรายได้เต็มๆ โซเชียลวิจารณ์ยับ

Loading

เว็บไซต์ เซาท์ไชน่า มอร์นิงโพสต์ รายงานเรื่องราวสุดแสบของสาวชาวจีนรายหนึ่งที่ได้สร้างความตกตะลึงบนโลกโซเชียล โดยเธอใช้กลโกงที่ไม่มีใครคาดคิด ทำให้สามารถทำงานในตำแหน่งที่แตกต่างกันกับบริษัท 16 แห่งในเวลาเดียวกัน ซึ่งไม่มีใครรู้นานถึง 3 ปี สุดท้ายถูกทางเจ้าหน้าที่จับกุมระหว่างสัมภาษณ์งานได้ในที่สุด

เตือนภัย! มิจฉาชีพแอบอ้างเป็น จนท.กบข. หลอกให้ปรับปรุงข้อมูลส่วนบุคคล

Loading

  มิจฉาชีพใช้วิธีหลอกลวงผ่านทางโซเชียลหลายรูปแบบ เพจ สืบนครบาล IDMB รายงานว่า รูปแบบแผนประทุษกรรมของมิจฉาชีพ มีดังนี้   – มิจฉาชีพแอบอ้างว่าเป็นเจ้าหน้าที่กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.)โดยใช้เบอร์ส่วนตัวโทรหาสมาชิก   – อ้างว่าได้จัดส่งเอกสารให้ทางไปรษณีย์ และเร่งให้รีบดำเนินการ อ้างว่า เนื่องจากใกล้สิ้นสุดกำหนดเวลา   – โดยมิจฉาชีพจะส่งลิงค์และให้เข้าทำรายการผ่านทางเว็บไซต์ปลอม   กบข. ชี้แจงว่า กบข. ไม่มีนโยบายให้เจ้าหน้าที่ติดต่อสมาชิกให้ดำเนินการใด ๆ เกี่ยวกับการปรับปรุงข้อมูลส่วนบุคคล กบข. ไม่สามารถปรับปรุงข้อมูลบัญชีเงินเดือนของสมาชิกได้ เนื่องจาก เป็นอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานต้นสังกัดสมาชิกเท่านั้น   นอกจากนี้ กบข. ได้มีนโยบายยกเลิกส่งข้อความที่มีการแนบลิงก์ผ่านช่องทาง SMS ทุกกรณี เพื่อป้องกันมิจฉาชีพแอบอ้างและเพิ่มความปลอดภัยให้สมาชิก   Facebook page ของ กบข. มีเพจเดียวเท่านั้น คือ เพจทางการที่มีเครื่องหมายถูกสีฟ้าหลังชื่อเพจ ส่วนกรณีที่มีเจ้าหน้าที่ กบข. ติดต่อหาสมาชิกจะใช้เบอร์ 02-6361000 เท่านั้น จะไม่มีการใช้เบอร์ส่วนตัวโทรหาสมาชิกโดยเด็ดขาด   หากประชาชนได้รับการติดต่อจากบุคคลที่ไม่สามารถยืนยันตัวตนได้ว่าเป็นเจ้าหน้าที่ของ…

เช็กให้แน่ ดูให้ชัวร์ อยู่ไกลกลลวง Phishing

Loading

  Phishing เป็นคำพ้องเสียงจากคำว่า Fishing หมายถึงการตกปลา เป็นการเปรียบเทียบว่า เหยื่อล่อที่ใช้ตกปลาคือกลวิธีที่มิจฉาชีพใช้หลอกลวง โดยมักเป็นการปลอมอีเมลหรือหน้าเว็บไซต์ที่มีข้อความ ทำให้ผู้อ่านหลงเชื่อว่า เป็นความจริงจนตกเป็นเหยื่อ   โดยกลวิธีหลอกล่อ Phishing มีดังนี้ – ปลอมอีเมล : ให้ดูเหมือนของหน่วยงานที่น่าเชื่อถือ เช่น ธนาคาร โดยเขียนข้อความในอีเมลเชิงหลอกล่อเพื่อให้เหยื่อส่งข้อมูลส่วนตัวกลับไป หรือให้เหยื่อคลิกลิงก์ไปยังหน้าเว็บไซต์ปลอม – ปลอมเว็บไซต์ : ให้ดูเหมือนเว็บไซต์ทางการเงิน เช่น ธนาคารออนไลน์ ซึ่งเป็นช่องทางที่จะนำไปสู่บัญชีเก็บเงินของลูกค้า เมื่อเหยื่อหลงเชื่อกรอกข้อมูล รหัสประจำตัว และ Password มิจฉาชีพก็สามารถเข้าถึงและทำธุรกรรมทางการเงินของเราได้ทันที   คำแนะนำ 1. URL : ไม่คลิกลิงก์ที่แนบมาในอีเมล์ของคนที่เราไม่รู้จัก ถ้าต้องการเข้าเว็บไซต์ ให้พิมพ์ URL เอง 2. E-mail : ระวังอีเมลที่ขอให้ส่งข้อมูลส่วนตัวกลับไป หรืออีเมลที่มาพร้อมกับลิงก์ 3. HTTPS : โดยปกติธนาคารจะใช้งาน HTTPS เพื่อป้องกันการโจมตีทางเครือข่าย…