แนะนำ 6 วิธีรับมือ เมื่อรู้ตัวว่ามือถือโดนแฮ็ก!
เปิด 6 แนวทางรับมือ เมื่อรู้ตัวว่ามือถือของเราโดนแฮ็ก ปกป้องความเป็นส่วนตัวของข้อมูล ป้องกันผู้อื่นติดกับดักจากมือถือเรา!
เปิด 6 แนวทางรับมือ เมื่อรู้ตัวว่ามือถือของเราโดนแฮ็ก ปกป้องความเป็นส่วนตัวของข้อมูล ป้องกันผู้อื่นติดกับดักจากมือถือเรา!
วันที่ 14 มิ.ย. 67 ที่กองบังคับการตำรวจสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมทางเทคโนโลยี 2 (บช.สอท.2 ) เมืองทองธานี พล.ต.ท.วรวัฒน์ วัฒน์นครบัญชา ผบช.สอท. พล.ต.ต.มนเทียร พันธ์อิ่ม รอง ผบช.สอท. พล.ต.ต.ชัชปัณฑกาณฑ์ คล้ายคลึง ผบก.สอท.1 พล.ต.ต.นิพล บุญเกิด ผบก.สอท.2 พล.ต.ต.จิตติพนธ์ ผลพฤกษา ผบก.สอท.4. ร่วมกันแถลงผลปฏิบัติการ “Cyber Sweep” ตรวจค้นเครือข่ายลักลอบการขายข้อมูลส่วนบุคคลกว่า 1 ล้านรายชื่อผ่านทางเฟซบุ๊ก
ตามนโยบาย พล.ต.ท.อิทธิพล อิทธิสารรณชัย ผบช.สตม., พล.ต.ต.พันธนะ นุชนารถ, พล.ต.ต.มานัด ศรีวงษา รอง ผบช.สตม., พล.ต.ต.ณัฐกร ประภายนต์ ผบก.ตม.3 สั่งกำชับให้เจ้าหน้าที่ ตม.จว.สมุทรปราการ เพิ่มความเข้มงวดกวดขันและตรวจสอบบุคคลต่างด้าวในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันปราบปรามการกระทำความผิดของคนต่างด้าวและความผิดที่มีโทษทางอาญาอื่น ๆ อย่างสม่ำเสมอ
เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคมที่ผ่านมา ผู้ใช้ Facebook พบว่าเพจทางการของสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สนทช.) เริ่มโพสต์เนื้อหาที่ผิดไปจากที่เคยทำปกติ มีการแนบลิงก์ประหลาดที่ไปยังเว็บไซต์อื่น ๆ
SHORT CUT • เลขา สกมช. ตั้งข้อสงสัย ทำไมแพลตฟอร์มโซเชียล ยอมให้โฆษณาหลอกลวงผ่านการตรวจสอบทั้งที่ในต่างประเทศแพลตฟอร์มเดียวกันกลับมีกฎเกณฑ์ที่ดีกว่า • ออสเตรเลียเคยฟ้องร้องเป็นตัวอย่างแล้ว ทั้งจากภาครัฐและคนดังที่ถูกแอบอ้าง • ต่างประเทศมองว่าการที่แพลตฟอร์มสื่อสังคมออนไลน์อนุญาตให้โฆษณาหลอกลวงผ่านการตรวจสอบ เท่ากับว่า แพลตฟอร์มมีส่วนรู้เห็นมาหลอกประชาชน เลขา สกมช. ตั้งข้อสังเกตุ การหลอกลวงผ่านโซเชียล ทั้งเพจปลอมและการหลอกลงทุน ทำไมแพลตฟอร์มไม่ช่วยป้องกันก่อนเกิดเหตุ ? พลอากาศตรี อมร ชมเชย เลขาธิการคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (สกมช.) ตั้งข้อสังเกตุกับผู้สื่อข่าวหลังการแถลงข่าวการลงนามในบันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ ยกระดับการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางไซเบอร์ และให้ความรู้แก่ประชาชนไม่ให้ตกเป็นเหยื่อภัยออนไลน์ ระหว่าง สกมช. และ สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (สำนักงาน กสทช.) ถึงกรณีการป้องกันและปราบปรามภัยไซเบอร์จากการหลอกลวงกันทางโซเชียลมีเดีย พลอากาศตรี อมร ตั้งข้อสังเกตุว่า การป้องกันและปรายปรามการหลอกลวงปัจจุบันทำได้ช้า ใช้เวลาเกือบ 2 สัปดาห์ในการดำเนินการจากฝั่งแพลตฟอร์ม ซึ่งการหลอกลวงเหล่านี้ ทั้งการโฆษณาหลอกลงทุนผ่านสื่อสังคมออนไลน์โดยการใช้รูปคนดัง , การตั้งเพจปลอมที่มีชื่อเหมือนหน่วยงานราชการ เช่น…
ทางการมาเลเซียสั่งให้บริษัทยักษ์ใหญ่ด้านเทคโนโลยีอย่าง เมตา และติ๊กต็อก นำเสนอแผนการต่อสู้กับเนื้อหาที่เป็นอันตรายทางออนไลน์ หลังมีรายงานพบเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมเพิ่มขึ้น บนแพลตฟอร์มสื่อสังคมออนไลน์ในประเทศ
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว