สรุปผลดำเนินงาน รักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ ปี 66 คาดปีนี้ Hacked Website ภัยคุกคามที่พบมาก
สรุปผลดำเนินงาน รักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ 1 ต.ค.65-30 ก.ย.66 แนวโน้มนปี 2567 Hacked Website ยังเป็นภัยคุกคามที่มีโอกาสพบเป็นจำนวนมาก
สรุปผลดำเนินงาน รักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ 1 ต.ค.65-30 ก.ย.66 แนวโน้มนปี 2567 Hacked Website ยังเป็นภัยคุกคามที่มีโอกาสพบเป็นจำนวนมาก
สิงคโปร์เป็นอีกประเทศที่เจอปัญหา scam หลอกลวงเงิน แบบเดียวกับประเทศไทย ที่ผ่านมา รัฐบาลสิงคโปร์มีมาตรการหลายอย่างเพื่อป้องกันปัญหา เช่น ระบบล็อคเงินห้ามถอนออนไลน์, ความร่วมมือกับกูเกิลบล็อคแอปใน Play Store, ทำฐานข้อมูลชื่อผู้ส่ง SMS ทั้งประเทศ
เมื่อวันที่ 18 มกราคม พลอากาศตรี อมร ชมเชย เลขาธิการ สกมช. ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ ระหว่าง สกมช. กับ บริษัท โกโกลุค จำกัด โดยนายเจฟฟ์ กัว ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทโกโกลุค
ด้วยความนิยมอย่างมากของ ChatGPT ที่เปิดให้ใช้งานได้ฟรี ทำให้มิจฉาชีพพยายามใช้ประโยชน์ฟิชชิ่งเพื่อหลอกลวง และขโมยข้อมูลจากผู้ใช้งาน ทั้งการทำเว็บไซต์เลียนแบบ สร้าง URL ให้มีความคล้ายคลึง หรือแม้กระทั่งการซื้อโฆษณาผ่านแพลทฟอร์มต่าง ๆ เพื่อล่อให้คนเข้ามาใช้งาน Techhub เลยจะมาแนะนำว่าวิธีดูว่า ลิงก์ไหน เป็นลิงก์ปลอม หรือวิธีสังเกต ChatGPT ปลอม ๆ
AnyDesk โปรแกรมยอดฮิตใช้เพื่อเข้าถึงอุปกรณ์จากระยะไกล หากใครหาดาวน์โหลดมาใช้ต้องระวังให้ดี ๆ เพราะตอนนี้มีเว็บไซต์ปลอมระบาดอยู่เต็มไปหมด ซึ่งจะพาให้คนหลงดาวน์โหลดโปรแกรมมัลแวร์ Vidar ที่สามารถขโมยข้อมูลต่าง ๆ ของเรา นอกจากนี้ยังมีเว็บปลอมอื่นอ้างชื่อโปรแกรมดังอย่าง MSI Afterburner, 7-ZIP, VLC, OBS, และอื่น ๆ อีกมากมาย ควรระวังไว้ครับ เว็บปลอม ANYDESK กระแสโปรแกรมปลอม แอปปลอม ระลอกใหม่ ถูกค้นพบโดยนักวิเคราะห์ภัยไซเบอร์ crep1x ที่รวบรวมเว็บไซต์กว่า 1,300 รายการ ที่มี IP Address เดียวกัน โดยเว็บไซต์เหล่านี้ใช้ชื่อที่มีความใกล้เคียงกับโปรแกรมชื่อดัง AnyDesk แต่อาจเปลี่ยนคำสลับตัวอักษรเพื่อให้คนเข้าใจผิดหลงเข้ามาในเว็บ ที่สุดท้ายแล้วจะพามาโผล่หน้าเว็บ AnyDesk ปลอมตามภาพ ดูจากชื่อเว็บแล้วยังเห็นชื่อโปรแกรมอื่นอย่าง MSI Afterburner, 7-ZIP, Blender, Dashlane, Slack, VLC, OBS,…
วิธีตรวจสอบเว็บไซต์ว่าปลอดภัยหรือไม่ ขณะท่องเว็บไม่ว่าจะชมเว็บไซต์ผ่านทางแล็ปท็อป พีซี หรือบนสมาร์ทโฟน เป็นเรื่องง่ายที่จะเผลอเข้าเว็บไซต์ปลอม หลอกลวง โฆษณา หรือเว็บอันตรายโดยไม่รู้ตัว ดังนั้นเพื่อความปลอดภัยในการชมเว็บไซต์บนอุปกรณ์ไอทีของคุณ และรวมถึงข้อมูลสำคัญบนอุปกรณ์ของคุณด้วย มาดูวิธีตรวจสอบเว็บไซต์กันว่าปลอดภัยหรือไม่ วิธีตรวจสอบว่าเว็บไซต์ปลอดภัยหรือไม่ ตรวจสอบเว็บปลอม 1. ตรวจสอบที่อยู่เว็บไซต์ว่าพิมพ์ถูกต้องหรือไม่ ? ตัวอย่างเช่น ชื่อแบรนด์หากคุณอยู่ในเว็บไซต์หลอกลวง เช่น “homedep0t” เป็นเว็บไซต์ปลอม แทนที่จะเป็นแบรนด์จริงคือ “homedepot” นอกเหนือจากนี้ ที่อยู่เว็บที่ใช้ “http” แทน “https” ที่ส่วนต้นของ URL ก็อาจไม่ปลอดภัยเช่นกัน เนื่องจาก Hypertext Transfer Protocol Secure (HTTPS) ได้รับการออกแบบมาสำหรับการถ่ายโอนข้อมูลและการสื่อสารที่ปลอดภัยผ่านเครือข่าย ในขณะที่ HTTP ไม่ใช่ Hypertext Transfer Protocol Secure เข้ารหัสคำขอ HTTP เพื่อให้ประสบการณ์การท่องเว็บของคุณมีความเป็นส่วนตัวและปลอดภัยยิ่งขึ้น แม้ว่าไม่ใช่ทุกเว็บไซต์ที่ใช้ HTTP…
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว