อึ้ง ชายแปรพักตร์หวังกลับเกาหลีเหนือ ขโมยบัสขับชนด่านก่อนโดนจับ
ชายเกาหลีเหนือที่หนีมาอยู่เกาหลีใต้ ขโมยรถบัสและพยายามขับฝ่าด่านข้ามสะพานรวมชาติ เพื่อกลับสู่เกาหลีเหนือ แต่ถูกจับกุมตัวเอาไว้ได้
ชายเกาหลีเหนือที่หนีมาอยู่เกาหลีใต้ ขโมยรถบัสและพยายามขับฝ่าด่านข้ามสะพานรวมชาติ เพื่อกลับสู่เกาหลีเหนือ แต่ถูกจับกุมตัวเอาไว้ได้
ศาลไต้หวันตัดสินจำคุกอดีตนาวาเอกชาวจีนคนหนึ่ง เป็นเวลา 8 เดือน ในข้อหาเดินทางเข้าเกาะอย่างผิดกฎหมายด้วยเรือ
พลเมืองเกาหลีเหนือคนหนึ่ง ลักลอบข้ามพรมแดนทางทะเลมายังเกาหลีใต้ ซึ่งเป็นกรณีที่เกิดขึ้นไม่บ่อยครั้งนัก
JUNGMIN CHOI / BBC ฮวัง จี-ซอง อดีตผู้แปรพักตร์มายังเกาหลีใต้เมื่อปี 2009 ผันตัวมาเป็นนายหน้าส่งเงินเข้าไปในเกาหลีเหนือ “มันเหมือนกับภาพยนตร์สายลับและคนก็เอาชีวิตไปแขวนไว้บนเส้นด้าย” ฮวัง จี-ซอง นายหน้าชาวเกาหลีใต้ซึ่งช่วยผู้แปรพักตร์เกาหลีเหนือส่งเงินกลับไปให้ทางบ้านมากกว่า 10 ปี กล่าว ฮวัง เล่าว่า เมื่อหลายปีที่แล้ว ชาวเกาหลีเหนือ บัญญัติคำศัพท์ขึ้นมาคำหนึ่งว่า “กิ่งก้านฮัลลาซาน” เพื่อเรียกกลุ่มคนที่รับความช่วยเหลือจากผู้แปรพักตร์เกาหลีเหนือในเกาหลีใต้ คำนี้ตั้งขึ้นจากชื่อภูเขาฮัลลาซาน ภูเขาไฟที่มีชื่อเสียงบนเกาะเจจู “คนที่มาจากครอบครัวของกิ่งก้านสาขาฮัลลาซานเป็นคู่สมรสที่เป็นที่ต้องการมากที่สุด และดีกว่าสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ด้วยซ้ำ” ผลสำรวจจากฐานข้อมูลสิทธิมนุษยชนของชาวเกาหลีเหนือเมื่อปี 2023 ซึ่งเก็บข้อมูลจากผู้แปรพักตร์ราว 400 คน พบว่า ผู้แปรพักตร์จำนวน 63% โอนเงินกลับไปให้ครอบครัวในเกาหลีเหนือ แต่ด้วยการปราบปรามของทางการที่เพิ่มขึ้นทั้งในเกาหลีเหนือ และเกาหลีใต้ การส่งเงินข้ามประเทศยิ่งเสี่ยงต่ออันตรายมากขึ้น ตอนนี้การส่งเงินกลับไปยังเกาหลีเหนือกลายเป็นเรื่องที่ซับซ้อนและยากมากกว่าเดิม เพราะต้องใช้เครือข่ายนายหน้าและคนส่งเงินที่ซ่อนตัวอย่างลับ ๆ ทั่วทั้งเกาหลีใต้ จีน และเกาหลีเหนือ การติดต่อสื่อสารในทางลับต้องใช้โทรศัพท์ที่ลักลอบโทรจากชายแดนจีนเข้าไปยังพื้นที่ชนบทห่างไกล โดยใช้ชื่อเข้ารหัสหรือชื่อโค้ดในการติดต่อ ผลประโยชน์จากการเป็นนายหน้าส่งเงินนั้นสูงมากอย่างไม่น่าเชื่อ เพราะการส่งเงินผิดกฎหมายทั้งในเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้…
สำนักข่าวต่างประเทศรายงานจากกรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้ เมื่อวันที่ 18 ม.ค. ว่า กระทรวงรวมชาติเกาหลีใต้เผยแพร่รายงาน สถิติชาวเกาหลีเหนือลี้ภัยหรือแปรพักตร์ ด้วยการหลบหนีพรมแดนข้ามมายังเกาหลีใต้ มีจำนวน 196 คน เมื่อปี 2566
เป็นเวลาราว 2 ปี ที่อดีตเจ้าหน้าที่ตำรวจพม่าอายุ 24 ปีรายนี้ เสี่ยงชีวิตของตนเองแสร้งทำเป็นรับใช้รัฐบาลทหาร แต่ขณะเดียวกัน ก็แอบเป็นสายลับสอดแนมให้กลุ่มต่อต้านติดอาวุธ “ผมหลุดพ้นจากคำสั่งที่ไม่เป็นธรรม” ยานกล่าวกับรอยเตอร์จากห้องในเมืองแห่งหนึ่งใกล้ชายแดนพม่า
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว