รู้จัก “ลมซานตาอานา” ลมปีศาจที่ทำให้ไฟป่าลอสแอนเจลิสลุกลามรุนแรง

Loading

“ลมซานตาอานา” คืออะไร? ทำความรู้จักหนึ่งในตัวการที่ทำให้เหตุการณ์ “ไฟป่าลอสแอนเจลิส” รุนแรง

GISTDA พัฒนาแอป “ไฟป่า” แจ้งเตือนจุดความร้อน ลดเสี่ยงไฟป่า

Loading

  GISTDA พัฒนาแอป “ไฟป่า” เพิ่มประสิทธิภาพการเฝ้าระวังให้กับทุกภาคส่วน พร้อมเดินหน้าติดตามสถานการณ์แบบวันต่อวัน   ช่วงปลายปีถึงต้นปีของทุกปี เป็นช่วงที่น่าจับตากับสถานการณ์ไฟป่าในบ้านเราและจากประเทศเพื่อนบ้าน   เรามาดูกันว่าเมื่อปี 2566 จุดความร้อนสะสมใน 17 จังหวัดภาคเหนือจากดาวเทียมระบบ VIIRS พบว่า ระหว่างเดือนมกราคม – พฤษภาคม 2566 มีจุดความร้อนทั้งสิ้น 109,035 จุด   จัดอันดับจากมากไปน้อยได้ดังนี้ เชียงใหม่ 13,094 จุด น่าน 11,632 จุด แม่ฮ่องสอน 11,522 จุด ตาก 10,337 จุด เชียงราย 10,129 จุด ลำปาง 7,898 จุด เพชรบูรณ์ 6,205 จุด   อุตรดิตถ์ 5,720 จุด แพร่ 5,646 จุด พะเยา…

เสริมสร้างความสามารถองค์กรรับมือ BANI โลกยุคใหม่ที่ท้าทายยิ่ง

Loading

VUCA เป็นคำย่อของ Volatility, Uncertainty, Complexity, และ Ambiguity อันหมายถึงความผันผวน ความไม่แน่นอน ความซับซ้อน ความคลุมเคลือ ส่วน BANI ก็มาจาก Brittle, Anxious, Nonlinear, และ Incomprehensible ซึ่งหมายถึง ความเปราะบาง ความวิตกกังวล ความไม่เป็นเส้นตรง ความกำกวมเข้าใจยาก โดยหลาย ๆ คนก็บอกว่าโลกได้เปลี่ยนจากยุค VUCA เข้าสู่ BANI แล้ว

จนท.ฮาวายโต้เสียงวิจารณ์เรื่องไม่เปิดเสียงไซเรนเตือนไฟป่า

Loading

  เจ้าหน้าที่รัฐฮาวายของสหรัฐฯ ชี้แจงสาเหตุที่ไม่เปิดเสียงไซเรนเตือนภัยในช่วงที่เกิดไฟป่ารุนแรง เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ซึ่งมีผู้เสียชีวิตแล้ว 110 ศพ   เมื่อวันพุธที่ผ่านมา (16 ส.ค. 2566) หัวหน้าฝ่ายบริหารเหตุฉุกเฉินของเกาะเมาวี กล่าวปกป้องการตัดสินใจของหน่วยงานต่อประเด็นเรื่องการเปิดเสียงไซเรนในช่วงที่เกิดไฟป่ารุนแรงเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว ท่ามกลางคำถามว่าการทำเช่นนั้นอาจช่วยชีวิตผู้คนได้หรือไม่   เฮอร์แมน อันดายา ผู้บริหารสำนักงานจัดการเหตุฉุกเฉินเขตเมาวี เคาน์ตี กล่าวกับผู้สื่อข่าวว่า เสียงไซเรนในฮาวายใช้เพื่อเตือนผู้คนให้ระวังสึนามิ การใช้มันขณะเกิดไฟไหม้อาจทำให้ผู้คนต้องอพยพไปยังจุดอันตราย   ไฟไหม้ทุ่งหญ้าเมื่อวันที่ 8 ส.ค. ลุกลามลงมาจากฐานของภูเขาไฟที่ลาดลงสู่เมืองลาไฮนา เมืองท่องเที่ยวชื่อดัง คร่าชีวิตผู้คนไปอย่างน้อย 110 ศพ และทำลายหรือสร้างความเสียหายให้กับอาคารราว 2,200 หลัง   นายอันดายา กล่าวระหว่างการแถลงข่าว เมื่อนักข่าวตั้งคำถามถึงการตอบสนองของรัฐบาลระหว่างที่เกิดไฟป่าว่า “ประชาชนถูกฝึกให้หนีไปยังที่สูงในกรณีที่เสียงไซเรนดังขึ้น หากเราเปิดไซเรนในคืนนั้น เราเกรงว่าผู้คนจะไปรวมตัวกันบริเวณไหล่เขา และถ้าเป็นเช่นนั้น พวกเขาคงเข้าไปในกองไฟแล้ว”   เขากล่าวว่า เมาวีใช้ระบบเตือนภัย 2 ระบบแทนการเปิดไซเรน ระบบหนึ่งจะส่งข้อความไปยังโทรศัพท์ และอีกระบบหนึ่งจะเป็นการออกอากาศข้อความฉุกเฉินทางโทรทัศน์และวิทยุ และเสริมว่า เนื่องจากเสียงไซเรนจะดังในพื้นที่ที่อยู่ริมทะเลเป็นหลัก พวกมันจึงไร้ประโยชน์สำหรับคนที่อาศัยอยู่บนที่สูง  …