สิ่งที่ไม่รู้เกี่ยวกับ มลพิษจาก ‘ไมโครพลาสติก’ ว่าอันตรายแค่ไหน

Loading

มลพิษเป็นหนึ่งใน 10 ความเสี่ยงที่คาดว่าจะมีผลกระทบที่รุนแรงที่สุดในทศวรรษหน้า ตามรายงานความเสี่ยงระดับโลกปี 2568 (Global Risk Report) ของ World Economic Forum พลาสติกเป็นหนึ่งในมลพิษหลัก โดยมี 19 ล้านตันรั่วไหลลงสู่แผ่นดิน แม่น้ํา และชายฝั่งทุกปี ไมโครพลาสติกเป็นส่วนสําคัญของสิ่งนี้ การประมาณการชี้ให้เห็นว่า ไมโครพลาสติกเป็นตัวแทนมากกว่า 90% ของพลาสติกทั้งหมดบนพื้นผิวมหาสมุทร

‘น้ำฝน’ ดื่มไม่ได้ อันตราย! มี ‘ไมโครพลาสติก – สารเคมีตลอดกาล’ ปนเปื้อน

Loading

    KEY POINTS ทั้งไมโครพลาสติก และสารเคมีตลอดกาล ทำให้น้ำฝนทั่วโลกสกปรกเกินกว่าจะดื่มได้ หลายประเทศพยายามจะควบคุมปริมาณพลาสติกมากขึ้น และยกเลิกใช้สาร PFAS บางชนิดไปแล้ว แต่ขึ้นชื่อว่าสารเคมีตลอดกาล พวกมันยังคงลอยปะปนอยู่ในอากาศ เมื่อน้ำฝนไม่สามารถดื่มได้แล้ว อาจทำให้ประชาชนในพื้นที่ต่างๆ ของโลกขาดแคลนน้ำสำหรับการบริโภค   ช่วงทศวรรษ 1970 “ฝนกรด” ถือเป็นภัยคุกคามต่อสิ่งแวดล้อมที่ร้ายแรงที่สุดอย่างหนึ่งของโลก  ในตอนนั้นอากาศเต็มไปด้วยมลพิษจากโรงไฟฟ้าถ่านหิน และควันดำรถยนต์จนทำให้น้ำฝนเต็มไปด้วยพิษ ส่งผลให้ปลาตาย ทำลายป่า กัดเซาะรูปปั้น และอาคาร เพียงไม่กี่ทศวรรษต่อมา ฝนกรดก็หายไปเกือบหมด เนื่องจากออกกฎหมายจำกัดปริมาณมลพิษที่ก่อให้เกิดกรด เช่น ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และไนโตรเจนออกไซด์ รวมถึงผู้ผลิตยานยนต์ต้องใส่ตัวเร่งปฏิกิริยาในรถยนต์รุ่นใหม่แม้ว่าปริมาณน้ำฝนจะมีความเป็นกรดน้อยลง แต่นักวิทยาศาสตร์พบว่า ในปัจจุบัน “น้ำฝน” เต็มไปด้วยมลพิษอื่นๆ มากมาย รวมถึง “ไมโครพลาสติก” และ “สารเคมีตลอดกาล” ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และแทบจะกำจัดไม่ได้ด้วย ไมโครพลาสติกในน้ำฝน งานวิจัยในปี 2020 พบว่า มีไมโครพลาสติกปนเปื้อนอยู่ในน้ำฝนที่ตกลงมาบริเวณอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง ทางภาคตะวันตกของสหรัฐ โดย เศษพลาสติกส่วนใหญ่เป็นไมโครไฟเบอร์ เช่น ซึ่งหลุดออกมาจากเสื้อสเวตเตอร์โพลีเอสเตอร์…

รู้จักสนธิสัญญาพลาสติกโลก ไฟฉายส่องทางสู่ลดมลพิษพลาสติกเป็นศูนย์

Loading

รายงานของ EA Earth Action จัดลำดับประเทศ ที่สร้าง “ขยะพลาสติกต่อหัว” มากที่สุดในโลก โดยอันดับหนึ่งคือ เบลเยี่ยม 147 กิโลกรัมต่อหัว สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 123 กิโลกรัมต่อหัว และโอมาน 122 กิโลกรัมต่อหัว ส่วนไทยรั้งอันดับที่ 32 ราว 45 กิโลกรัมต่อหัว