ChatGPT ภาพหลอน และการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล

Loading

  หลาย ๆ ท่านอาจเคยได้ยินว่า Generative AI อาจให้ข้อมูลที่ผิดพลาดหรือไม่ตรงกับความเป็นจริงได้ ดังนั้น ผู้ใช้งานโมเดลภาษาขนาดใหญ่ (LLM: Larger language models) จึงต้องมีความตระหนักรู้ในข้อจำกัดของเทคโนโลยีประกอบด้วย   ข้อมูลที่ผิดพลาดอาจจะเป็นข้อเท็จจริงพื้นฐาน หรืออาจจะเป็นข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลก็ได้ ลองจินตนาการว่าหาก Generative AI ให้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับตัวท่าน เช่น “วันเดือนปีเกิด” ท่านในฐานะของผู้ใช้งานโมเดลภาษาหเล่านั้นหรือเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลที่ไม่ถูกต้อง   และโดยเฉพาะอย่างยิ่งหากมีการให้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องที่อาจสร้างความเสื่อมเสียต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล   ท่านจะมีสิทธิตามกฎหมายอย่างไรบ้างหรือไม่ เพื่อจะทำให้ข้อมูลส่วนบุคคลของตนที่ถูกประมวลผลหรือแสดงผลโดย Generative AI นั้นถูกต้อง หรือขอให้ลบข้อมูลเหล่านั้นออกจากการประมวลผลหรือการแสดงผลลัพธ์   การที่ระบบปัญญาประดิษฐ์หรือ AI สร้างข้อมูลหรือเนื้อหาที่ไม่ถูกต้องหรือไม่เป็นความจริง ในทางเทคนนิค เรียกว่า AI Hallucination หรือการประดิษฐ์ภาพหลอนโดย AI   คือกรณีนี้เป็นสถานการณ์ที่ AI สร้างข้อมูลหรือเนื้อหาที่ไม่ถูกต้องหรือไม่เป็นความจริง ซึ่งเป็นผลลัพธ์การตอบสนองที่สร้างโดย AI ที่ให้ข้อมูลที่เป็นเท็จหรือทำให้เข้าใจผิดว่าเป็นข้อเท็จจริง     เปรียบเสมือนภาพหลอนในจิตวิทยาของมนุษย์ที่อาจเกิดจากข้อจำกัดของโมเดล AI เอง…

บริษัททั่วโลกอ่วม ถูกแก๊งมิจฉาชีพใช้ “Deepfake” ตุ๋นเงินหลายล้านดอลลาร์

Loading

ผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยไซเบอร์ได้ออกโรงเตือนว่าสถานการณ์อาจจะเลวร้ายลงเรื่อย ๆ เนื่องจากแก๊งอาชญากรใช้ประโยชน์จากปัญญาประดิษฐ์เชิงรู้สร้าง (Generative AI) ในการฉ้อโกง

5 เทรนด์เทคโนโลยีที่สำคัญของภาครัฐในปี 2567

Loading

  5 เทรนด์เทคโนโลยีที่สำคัญของภาครัฐในปี 2567 เผยโดย Gartner เพื่อเป็นแนวทางแก่ผู้นำองค์กรภาคสาธารณะในการให้บริการประชาชนที่ดีขึ้น รวดเร็วขึ้นและให้ความคุ้มค่ายิ่งขึ้น ท่ามกลางความวุ่นวายทั่วโลกทั้งบนโลกจริงและโลกออนไลน์ที่มีภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่เกิดต่อเนื่องและการนำ AI มาใช้งานกำลังเพิ่มความกดดันให้ภาครัฐฯ ในการตอบสนองความต้องการของภาคประชาชนที่ต้องการบริการที่มีความรวดเร็วและสร้างสรรค์กว่าเดิม ผู้บริหาร CIO ของภาครัฐฯ ต้องหาวิธีการใหม่ ๆ ที่สอดรับกับความต้องการดังกล่าวด้วยบริการที่ทันสมัย เข้าถึงง่ายและยืดหยุ่น โดยเน้นไปที่เทคโนโลยีที่ยั่งยืนและปรับขนาดได้   ผู้บริหาร CIO ของรัฐบาลควรพิจารณาผลกระทบของเทรนด์ทั้ง 5 เพื่อปรับใช้ข้อมูลเชิงลึกเพื่อสร้างเคสการลงทุนในการเพิ่มความสามารถต่าง ๆ ทางธุรกิจ พร้อมบรรลุเป้าหมายการจัดลำดับความสำคัญของความเป็นผู้นำ และสร้างองค์กรภาครัฐที่พร้อมสำหรับอนาคต   5 เทรนด์เทคโนโลยีที่สำคัญของภาครัฐในปี 2567   Gartner   Adaptive Security – ความปลอดภัยปรับเปลี่ยนได้ ในปี 2571 Multiagent AI หรือ AI ที่สามารถเข้าใจและทำงานกับข้อมูลหลายประเภทที่ใช้เพื่อตรวจจับและรับมือต่อเหตุการณ์ภัยคุกคามจะถูกนำมาใช้เพิ่มจาก 5% เป็น 70% โดยไม่ได้นำมาแทนที่พนักงานที่เป็นมนุษย์ ซึ่ง AI กำลังสร้างการปรับเปลี่ยนและข้อกำหนดด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ขึ้นใหม่…

คาดการณ์ความปลอดภัยทางไซเบอร์ 2567 เผย AI ช่วยลดช่องว่างทักษะและลดภัยไซเบอร์ได้

Loading

คาดการณ์ความปลอดภัยทางไซเบอร์ 2567 เผยโดย Gartner พบว่าการใช้ Generative AI จะช่วยลดช่องว่างทักษะและลดเหตุความปลอดภัยทางไซเบอร์ที่เกิดโดยพนักงาน โดยที่ 2 ใน 3 ขององค์กร 100 แห่งทั่วโลกจะขยายการประกันภัย D&O ให้กับผู้นำด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ ตามกฎหมายการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล และการรับมือกับข้อมูลที่บิดเบือนจะสร้างต้นทุนแก่องค์กรมากกว่า 5 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

เตือนภัย มิจฉาชีพใช้ AI 3 รูปแบบมาหลอกเหยื่อให้หลงเชื่อโอนเงิน

Loading

  เตือนภัย ! ยุคเทคโนโลยีล้ำหน้า “มิจฉาชีพ” ใช้ AI 3 รูปแบบทั้ง ปลอมเสียง ปลอมแปลงใบหน้า หรือสร้างบทความหลอกให้มาร่วมลงทุน   ปัจจุบันมิจฉาชีพออนไลน์ มักมาทุกรูปแบบจนเหยื่อหลายรายตามไม่ทัน ซึ่งมุกมีใหม่ ๆ ที่ไม่มีใครคาดคิดทำให้มีประชาชนหลงกลตกเป็นผู้เสียหายจำนวนมาก ซึ่งที่ผ่านมาหน่วยงานต่าง ๆ ต่างเร่งแก้ไขปราบปราม ประชาชนสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่ประชาชน แต่คนร้ายแก๊งคอลเซ็นเตอร์ก็พัฒนาวิธีการหลอกรูปแบบใหม่ๆ โดยเฉพาะการนำเทคโนโลยี Ai มาเป็นเครื่องมือในการหลอกลวงกระทำความผิด   รูปแบบของ AI ที่มิจฉาชีพนำมาใช้ ที่เริ่มพบเจอเยอะมากขึ้นได้แก่ •  Voice Cloning หรือ การใช้ AI ปลอมเสียง โดยจะเป็นการใช้ AI เลียนแบบเสียงของบุคคลให้มีความคล้ายคลึงกับบุคคล เพื่อใช้ในการหลอกเหยื่อให้คิดว่าได้คุยกับคน ๆ นั้นจริง ๆ ก่อนที่จะหลอกให้โอนเงินหรือทำอะไรอย่างอื่นต่อไป   •  Deepfake หรือการใช้ AI ปลอมแปลงใบหน้าให้มีความคล้ายคลึงกับบุคคลต่างๆ เพื่อหลอกเชื่อว่าคน ๆ…

ศูนย์ข้อมูลคลาวด์ในไทยกับนโยบาย “Cloud First”และ“พัฒนาทักษะดิจิทัล”

Loading

จริง ๆ แล้ว ไมโครซอฟท์ไม่ใช่ผู้ประกอบการคลาวด์รายใหญ่รายแรก ที่มาประกาศตั้งศูนย์ข้อมูลในไทย ปลายปี 2022 บริษัท AWS หรือ Amazon Web Services ก็เคยประกาศลงทุนจะตั้ง Cloud Region ในประเทศไทย มีแผนขยายการลงทุนด้วยวงเงิน 1.9 แสนล้านบาท ในระยะเวลา 15 ปี