ซ่อนเนื้อหา Google ออกฟีเจอร์ใหม่ ป้องกัน AI เก็บข้อมูล

Loading

[ปิดสวิตช์ AI] เบื้องหลังความสามารถของ AI ก็มักมาจากข้อมูลที่เผยแพร์บนโลกอินเทอร์เน็ต เปิดโอกาสให้คนทั่วโลก รวมถึงเครื่องมือ AI เข้ามา ‘เก็บข้อมูล’ ผ่าน robots.txt ในเว็บต่าง ๆ จนนำไปไปฝึกอัลกอริทึมของตัวเองได้ หากเจ้าของเว็บไม่อยากให้ AI เหล่านี้ เข้ามาเก็บข้อมูลในเว็บตัวเอง ก็อาจถูกใจฟีเจอร์ใหม่ของ Google นี้แน่

สำนักงานความมั่นคงแห่งชาติของสหรัฐฯ เปิดตัวศูนย์รักษาความปลอดภัยปัญญาประดิษฐ์

Loading

สำนักงานความมั่นคงแห่งชาติของสหรัฐฯ (NSA) ประกาศสร้างศูนย์รักษาความปลอดภัยปัญญาประดิษฐ์ โดยศูนย์ดังกล่าวจะถูกรวมเข้ากับศูนย์ความร่วมมือด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ของ NSA ซึ่งจะกลายเป็นจุดศูนย์กลางของการส่งเสริมการนำความสามารถใหม่ ๆ ของ AI มาใช้อย่างปลอดภัยสำหรับหน่วยงานความมั่นคงและอุตสาหกรรมการป้องกันประเทศ

ชวนรู้จัก National AI Service Platform แพลตฟอร์มให้บริการ AI ปัญญาประดิษฐ์ไทย

Loading

Nation AI Service Platform หนึ่งในแพลตฟอร์มที่จะเข้ามาช่วยพัฒนาและผลักดันวงการเทคโนโลยีในประเทศไทย ซึ่งกระแสของเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (เอไอ) ก่อให้เกิดการตื่นตัวในทุกภาคส่วนอย่างแท้จริง ธุรกิจต่าง ๆ ล้วนต้องการปรับตัวให้ทันกับกระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเพื่อให้ได้รับประโยชน์จากเทคโนโลยี และมีข้อได้เปรียบในการแข่งขันมากที่สุด

ญี่ปุ่นผุด AI ตรวจจับนักเรียนหลับในคลาส จากระบบถ่ายภาพความร้อนแม่นยำ 90%

Loading

ญี่ปุ่นผุด AI ตรวจจับนักเรียนหลับในคลาส จากการพัฒนาร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัย Osaka Kyoiku และบริษัทพลังงานความร้อนแสงอาทิตย์ Kansai Denki Kogyo ในโอซาก้า ด้วยระบบถ่ายภาพความร้อน ซึ่งมีความแม่นยำ 90% ข้อมูลภาพถ่ายความร้อนจากระบบ AI ให้เห็นว่าบุคคลที่หนึ่ง และสามจากด้านซ้ายกำลัง “นั่ง” บุคคลที่สอง และสี่กำลัง “ยืน” ในขณะคนที่ห้ากำลัง “หลับ”

เปิด ‘ความเสี่ยงไซเบอร์’ องค์กรไทย หวั่น ‘มัลแวร์-แฮ็กบัญชี’ โจมตีหนัก

Loading

  ‘พาโล อัลโต เน็ตเวิร์กส์’ เปิดรายงานสถานการณ์ระบบรักษาความปลอดภัยไซเบอร์ในอาเซียนปี 2566 ข้อมูลในรายงาน ระบุว่า เมื่อปีที่ผ่านมาประเทศไทยพบปัญหา “การโจมตีที่สร้างความเสียหายอย่างหนัก” ในปริมาณน้อยที่สุดมีองค์กร 22% ขณะที่องค์กรไทยหนักใจ “มัลแวร์” มากสุด   พาโล อัลโต เน็ตเวิร์กส์’ ผู้นำระดับโลกด้านระบบรักษาความปลอดภัยไซเบอร์ เปิดรายงานสถานการณ์ระบบรักษาความปลอดภัยไซเบอร์ในอาเซียนปี 2566 ข้อมูลในรายงาน ระบุว่า เมื่อปีที่ผ่านมาประเทศไทยพบปัญหา “การโจมตีที่สร้างความเสียหายอย่างหนัก” ในปริมาณน้อยที่สุดมีองค์กร 22% ที่พบจำนวนอุบัติการณ์เพิ่มขึ้นมากกว่า 50% เมื่อเทียบอดีต   ทั้งนี้ การปกป้องเทคโนโลยีเชิงปฏิบัติการ (OT) โดยเฉพาะระบบที่เกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐานสำคัญยังคงเป็นข้อกังวลหลัก เพราะบริการพื้นฐานสำคัญเหล่านั้นต้องเผชิญกับการโจมตีที่สร้างความเสียหายในระดับที่สูงกว่าภาคส่วนอื่น ๆ     ข้อกังวลอันดับต้น ๆ องค์กรไทย   ขณะที่ ประเภทการโจมตีที่องค์กรในไทยมีความกังวลมากที่สุด ได้แก่ มัลแวร์ 57% และการเข้าควบคุมบัญชีผู้ใช้ 57% และการโจมตีรหัสผ่าน 53% ซึ่งภายใต้สถานการณ์ที่ต้องพึ่งพาบริการและแอปพลิเคชันระบบคลาวด์มากขึ้น ธุรกิจในไทยระบุว่า…

นักวิจัย Microsoft พบข้อมูลรั่วไหลจำนวนมาก ทั้งรหัสผ่านและ Teams

Loading

WiZ บริษัทความปลอดภัยทางไซเบอร์ตรวจพบข้อมูลที่นักวิจัยปล่อยออกมาให้นักพัฒนารายอื่น ๆ เข้าถึงข้อมูลขนาด 38 เทราไบต์โดยไม่ได้ตั้งใจ การเก็บข้อมูลบน GitHub เจอปัญหาจากการดาวน์โหลดโมเดล AI จาก URL ที่เก็บข้อมูลบนคลาวด์ แต่ลิงก์ได้รับการกำหนดค่าที่ไม่ถูกต้อง