ETDA เปิดศูนย์ธรรมาภิบาล AI ดันแผนขับเคลื่อน 4 มิติ หนุนใช้ AI อย่างรับผิดชอบ

Loading

  เอ็ตด้า พร้อม พาร์ทเนอร์ทั้งไทยและต่างประเทศ จัดใหญ่เปิดตัว “ หรือ AI Governance Clinic by ETDA (AIGC)” ลุยยกระดับมาตรฐาน AI ดันประเทศประยุกต์ใช้ AI อย่างรับผิดชอบ ผนึกพันธมิตร กระจายความรู้เกี่ยวกับธรรมาภิบาลการใช้ AI ทางการแพทย์   ดร.ชัยชนะ มิตรพันธ์ ผู้อำนวยการ ETDA กล่าวว่า ปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI (Artificial Intelligence) เป็นเทคโนโลยีที่กำลังมีบทบาทในปัจจุบัน และทั่วโลกต่างให้ความสำคัญ และเร่งพัฒนานโยบาย มาตรฐาน และหลักธรรมาภิบาลปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI Governance เพื่อเป็นกรอบหรือทิศทางในการประยุกต์ใช้งาน AI ได้อย่างสร้างสรรค์ และมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามหลักจริยธรรม และธรรมาภิบาลที่ควรจะเป็นอย่างต่อเนื่อง   สำหรับประเทศไทย จากการจัดอันดับดัชนีความพร้อมด้านปัญญาประดิษฐ์ของรัฐบาล (Government Artificial Intelligence Readiness Index)…

“เอ็ตด้า”เปิดตัวศูนย์ธรรมาภิบาลปัญญาประดิษฐ์

Loading

  เอ็ตด้า จับมือพาร์ทนอร์ เปิดศูนย์ธรรมาภิบาลปัญญาประดิษฐ์ หรือ เอไอจีซี ในวันที่ 8 พ.ย. นี้ เป็นแหล่งรวมความรู้และผู้เชี่ยวชาญด้านธรรมาภิบาลการประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ หรือ เอไอ ทั้งในและต่างประเทศ   นายชัยชนะ มิตรพันธ์  ผู้อำนวยการ สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (สพธอ.) หรือ เอ็ตด้า เปิดเผยว่า เอ็ตด้า เตรียมเปิดตัว “ศูนย์ธรรมาภิบาลปัญญาประดิษฐ์” หรือ เอไอจีซี  ในวันที่ 8 พ.ย. นี้ ซึ่งเป็นแหล่งรวมความรู้และผู้เชี่ยวชาญด้านธรรมาภิบาลการประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ หรือ เอไอ ทั้งในและต่างประเทศ หลังจากที่คณะรัฐมนตรีได้มีการอนุมัติแผนปฏิบัติการด้านปัญญาประดิษฐ์แห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศไทยระยะ 6 ปี (พ.ศ. 2565-2570) ไปแล้ว โดยหนึ่งในยุทธศาสตร์ของแผนดังกล่าว คือ  การเตรียมพร้อมให้การประยุกต์ใช้ เอไอ อย่างมีธรรมาภิบาล มีกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้ใช้งานมีความรับผิดชอบต่อสังคม   “ปัจจุบันเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ ได้เข้ามามีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนชีวิตของเราในทุกมิติ ทั้ง การทำงาน การทำธุรกิจ การเรียนการสอน การทำธุรกรรมทางการเงิน…

เอาจริง อิสราเอลติดป้อมปืน AI ติดตามเป้าหมายได้แม่นยำ

Loading

  เมื่อสงครามดำเนินถึงจุดที่เรากำลังใช้เทคโนโลยีในการเฝ้าระวัง   โดยล่าสุด อิสราเอลได้นำป้อมปืนที่ติดตั้งระบบ AI ในการติดตามเป้าหมายในเวสต์แบงก์ซึ่งเป็นหนึ่งในพื้นที่พิพาทระหว่างอิสราเอลและปาเลสไตน์   ป้อมปืนดังกล่าวถูกติดตั้งบนหอคอยพิทักษ์ซึ่งสามารถมองเห็นค่ายผู้ลี้ภัยอัล-อารูบที่แออัดในเวสต์แบงก์เพื่อช่วยในการตรวจสอบคนที่แอบแฝงเข้ามาภายในค่ายของผู้ลี้ภัย หรือใช้เพื่อระงับเหตุจราจล   จากข้อมูล ปืนดังกล่าวไม่ได้ติดตั้งกระสุนจริงนะ แต่จะประกอบไปด้วยแก๊สน้ำตา stun grenades หรือระเบิดแสง และกระสุนฟองน้ำปลายแหลมเท่านั้น   หลายคนอาจกลัวว่า หากเกิดเหตุขึ้น AI จะทำหน้ายิงออกไปทันทีเลยไหม ไม่ใช่นะ AI จะทำหน้าที่ในการล็อกเป้าหมายและคำนวนวิถียิงที่แม่นยำ และคนที่กดไกปืนยังเป็นมนุษย์ ซึ่งสามารถทำให้ตัดสินได้ว่าจะให้ทำการยิงหรือไม่ยิงครับ   อย่างไรก็ตาม ผมเชื่อว่าไม่มีใครอยากให้สงครามนั้นเกิดขึ้นเนอะ และหวังว่าสงครามจะไม่บานปลายจึงถึงขั้นในหุ่นยนต์ AI ในการรบและสังหาร โดยคนที่กดไกปืน เป็นหุ่นยนต์ ไม่ใช่มนุษย์…     ที่มาข้อมูล https://www.euronews.com/next/2022/10/17/israel-deploys-ai-powered-robot-guns-that-can-track-targets-in-the-west-bank?utm_source=flipboard.com&utm_campaign=feeds_next&utm_medium=referral         ——————————————————————————————————————————– ที่มา :               …

เปิดแนวโน้มเทคโนโลยีดิจิทัลปี 2023 ที่ทุกคนต้องเตรียมพร้อม

Loading

  “Bernard Marr” ที่เป็นนักอนาคตศาสตร์ (Futurist) ด้านเทคโนโลยี เมื่อเร็ว ๆ นี้ เขาได้เขียนบทความแนะนำแนวโน้มเทคโนโลยีดิจิทัลที่สำคัญในปี 2023 ที่ทุกคนจะต้องเตรียมพร้อมนับตั้งแต่ตอนนี้!!!   เทคโนโลยีดิจิทัล เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และมักจะมีเทคโนโลยีใหม่ๆ มาให้กล่าวขานกันเสมอ เช่น Metaverse, Web 3.0, AI, AR/VR ,NFT และ Quantum Computing ผู้บริหารบางองค์กรก็จะตื่นเต้นกับเทคโนโลยีใหม่ๆ บ้างก็กลัวตกเทรนด์ตามกระแสการเปลี่ยนแปลงไม่ได้ รีบนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในองค์กรแต่สุดท้ายแล้วบางเทคโนโลยีก็อาจยังไม่พร้อมและเป็นเรื่องใหม่จนเกินกว่าจะนำมาใช้ประโยชน์ได้เต็มที่ และอาจไม่คุ้มค่ากับการลงทุน   ผมเองก็พยายามตามเทคโนโลยีใหม่ ๆ เหล่านี้ ถ้ามีเวลาก็จะลงมือไปทดลองใช้บ้าง บางเทคโนโลยีก็พบว่าเป็นเรื่องน่าสนใจและเหมาะกับการนำมาประยุกต์ใช้งาน บางเทคโนโลยีก็อาจต้องรอเวลาให้เกิดการพัฒนาที่ดีขึ้นก่อนที่จะนำไปใช้งานได้ในวงกว้าง บ้างก็เป็นการสร้างของนักการตลาดที่พยายามทำให้ดูดีกว่าความเป็นจริง และบ้างก็อาจมีค่าใช้จ่ายที่สูงเกินกว่าความคุ้มค่าต่อการลงทุน   แต่สิ่งสำคัญเราควรต้องศึกษาข้อมูลนักวิเคราะห์ที่เป็นกลาง และเข้าใจในเรื่องการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี นอกเหนือจากบริษัทวิจัยชื่อดังอย่าง Gartner หรือ Forrester แล้ว ก็ยังมีผู้เชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยีหลายๆ ท่านที่มักจะนำเสนอความคิดเห็นดีๆ ออกมาต่อสาธารณะ หนึ่งในนั้นที่ผมมักจะติดตามบ่อย ๆ คือ “Bernard…

สหรัฐฯ เสนอเค้าโครงบัญญัติสิทธิที่วางกรอบการใช้ปัญญาประดิษฐ์

Loading

  รัฐบาลสหรัฐอเมริกาเสนอเค้าโครงบัญญัติสิทธิด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI Bill of Rights) ที่ตั้งใจเขียนขึ้นมาเพื่อกำหนดกรอบและเสนอแนวทางเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์   สำนักประธานาธิบดี (ทำเนียบขาว) เผยว่าบัญญัติฉบับนี้ต้องการควบคุมให้ปัญญาประดิษฐ์ถูกนำไปใช้ในเชิงสร้างสรรค์ อาทิ การพัฒนาคุณภาพชีวิต และการเพิ่มคุณภาพการจ้างงาน ในขณะเดียวกันก็ป้องกันการไปใช้ในเชิงลบด้วย   เนื้อหาของเค้าโครงบัญญัติสิทธิด้านปัญญาประดิษฐ์มีหลักสำคัญ 5 ประการ ได้แก่ การรักษาระบบที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ การป้องกันไม่ให้มีการสร้างอัลกอรึทึมที่ส่งเสริมการเลือกปฏิบัติ การรักษาความเป็นส่วนตัวของข้อมูล การแจ้งละเอียดของปัญญาประดิษฐ์ และการระบุถึงตัวเลือกอื่น ๆ นอกเหนือไปจากปัญญาประดิษฐ์ พร้อมด้วยผลเสียของเทคโนโลยี   โดยเค้าโครงนี้จะใช้กับ “ระบบอัตโนมัติ (Automated System) ที่มีศักยภาพในการสร้างผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อสิทธิ โอกาส หรือการเข้าถึงทรัพยากรหรือบริการสำคัญของชาวอเมริกัน”     ที่มา ZDNET       ——————————————————————————————————————————————– ที่มา :          Beartai         …

ผู้พิพากษา vs Judge AI เมื่อความยุติธรรมที่ขับเคลื่อนด้วย AI อาจดีกว่าการถูกตัดสินด้วยอคติจากมนุษย์

Loading

  แม้มันดูเหมือนจะเป็นเรื่องราวจากภาพยนตร์ไซไฟ แต่ต้องบอกว่าในยุคปัจจุบันนั้น ในวงการกฎหมายเริ่มนำเอาเทคโนโลยีอย่าง AI มาประยุกต์ใช้จริง ๆ กันเป็นที่เรียบร้อยแล้ว   การเติบโตอย่างบ้าคลั่งของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ข้อมูล Big Data ขนาดมหึมา เทคโนโลยีอย่าง Machine Learning และข้อมูลจำนวนมหาศาลที่ได้รับอย่างต่อเนื่องจากอินเทอร์เน็ต ที่ครอบคลุมทุกอย่างรอบตัวเรา กำลังเปลี่ยนโลกของเราด้วยความเร็วที่ไม่เคยมีมาก่อน   มีผลการศึกษาผลกระทบต่อเทคโนโลยีต่อหลากหลายอาชีพ ได้พบว่า นักกฎหมายและผู้พิพากษาอยู่ที่จุดกึ่งกลางของงานที่มีแนวโน้มว่าจะถูกแทนที่ด้วยเทคโนโลยีด้วยเช่นกัน   มีสิ่งบ่งชี้เกี่ยวกับภัยคุกคามต่ออาชีพนี้เพิ่มมากยิ่งขึ้น ตัวอย่างเช่น chatbot บริการทางกฎหมายที่ขับเคลื่อนด้วย AI ในสหราชอาณาจักร ที่มีชื่อว่า ‘DoNotPay’ ที่ก่อตั้งขึ้นในปี 2015 ในฐานะ ‘ทนายความหุ่นยนต์’ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากคอมพิวเตอร์ Watson ของ IBM   ในปี 2016 ระบบ chatbot ได้โต้แย้งข้อพิพาทเรื่องตั๋วจอดรถมากกว่า 250,000 คดีในลอนนดอนและนิวยอร์ก ซึ่งสามารถชนะการตัดสินได้ถึง 160,000 คดี     DoNotPay…