เมื่อสิ่งที่เรากลัวเป็นจริง? แฉพันธมิตรเฟซบุ๊ก-กูเกิลใช้เอไอ “แอบฟัง” ผู้ใช้สมาร์ตโฟน!

Loading

แฉเอเจนซีการตลาดที่เป็นพันธมิตรกับเฟซบุ๊กและกูเกิล ใช้เอไอ “แอบฟัง” ผู้ใช้สมาร์ตโฟน เพื่อส่ง “โฆษณา” ที่ตรงกับสิ่งที่เราพูดคุยมาให้! ขณะที่ บริษัทเทคโนโลยีรายใหญ่ ปฏิเสธรายงานการใช้ซอฟท์แวร์ดักฟังการสนทนา

‘ตร.ไซเบอร์’ ย้ำเตือน ‘thaipoliceonline.com’ รับแจ้งความออนไลน์ เท่านั้น

Loading

22 ต.ค. 2566 พ.ต.อ.กฤษณะ พัฒนเจริญ โฆษก ตำรวจสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (บช.สอท.) หรือ ตำรวจไซเบอร์ เปิดเผยถึงกรณีที่มีผู้เสียหายซึ่งเป็นเด็กอายุ 14 ปี ถูกมิจฉาชีพหลอกลวงให้โอนเงินซื้อคูปองเกมออนไลน์แล้ว ไปแจ้งความผ่านเว็บไซต์รับแจ้งความออนไลน์ที่มิจฉาชีพปลอมขึ้นมา แอบอ้างเป็นตำรวจไซเบอร์

เพราะอะไรถามคำถาม AI แล้วได้คำตอบผิด ๆ ในบางครั้ง

Loading

    จากการเปิดตัวเสิร์ชเอนจิน Bing เวอร์ชันใหม่ล่าสุดของ Microsoft ในต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา สิ่งที่มีความแตกต่างจากเสิร์ชเอนจินเจ้าอื่น ๆ ในตลาด คือ มีระบบแชตบอตที่สามารถให้คำตอบที่บรรยายเป็นคำพูดพร้อมกับความชัดเจน และกระชับเข้าใจได้อย่างง่ายยิ่งขึ้น   แต่หลังจากเปิดให้ใช้งานแชทบอทผู้ใช้ก็ได้สังเกตเห็นบางสิ่งบางอย่างที่แชทบอทยังให้คำตอบที่ไม่ถูกต้องที่ส่งผลให้ผู้ใช้งานเข้าใจผิดได้   เพื่อทำความเข้าใจทั้งหมดว่ามันเกิดอะไรขึ้น เราก็ต้องมารู้ว่าหลักการทำงานของแชตบอตมันทำงานได้อย่างไรเสียก่อน     1. เรานับว่าแชตบอต AI ทั้งหลายมีชีวิตหรือไม่ ?   คำตอบก็คือ ไม่มีชีวิต   ก็ดูแล้วเมื่อเราได้ถามคำถามไปยังแชตบอต แล้วรูปประโยคที่แชตบอตให้คำตอบออกมาก็ดูมีชีวิตเหมือนกับมนุษย์ตอบกลับมา สิ่งที่แชตบอตทำงานได้เพราะมีการขับเคลื่อนด้วยปัญญาประดิษฐ์ประเภทหนึ่งที่เรียกว่า โครงประสาทเทียม หรือ Neural Network ที่ฟังดูแล้วก็เหมือนสมองคอมพิวเตอร์ แต่คำนี้แหละที่ทำให้คนเข้าใจผิดไปกันใหญ่   โครงสร้างประสาทเทียม หรือ Nerual Network เป็นระบบคณิตศาสตร์ที่มีการเรียนรู้ทักษะจากการได้รับข้อมูลดิจิทัลที่มีการป้อนข้อมูลอยู่ตลอดเวลา   ในชีวิตประจำวันมนุษย์มีการใช้งานโครงข่ายประสาทเทียมอยู่ทุกวันโดยที่ไม่รู้ตัวเช่น เทคโนโลยีระบุตัวบุคคล, สัตว์ และสิ่งของที่อยู่ใน Google Photos, ผู้ช่วยคำสั่งเสียง Siri และ Alexa…