“เมื่อ AI เข้าสภา”

Loading

  คลิปที่แชร์กันมากเมื่อสองสัปดาห์ก่อน เป็นการอภิปรายเกี่ยวกับ AI ในรัฐสภาสิงคโปร์ ซึ่งเป็นช่วงที่ผมเขียนเรื่อง AI ลงในคอลัมน์นี้พอดี วันนี้เลยขอต่อเรื่องนี้ครับ   หลังจากที่ ChatGPT เข้ามาสั่นสะเทือนโลกเมื่อปลายปี 2565 แล้ว ไม่กี่เดือนต่อมา   ก็มีเวอร์ชันใหม่ ๆ ตามมา ซึ่งเป็น AI ที่มีความสามารถเพิ่มขึ้นอย่างมาก   คลิปที่แชร์กัน มีความยาวเพียง 4 นาที เนื้อหาคือ ส.ส. สิงคโปร์คนหนึ่งได้อภิปรายว่า AI   รุ่นใหม่ ๆ ที่จะออกมาในอนาคตอันใกล้ จะทำให้สั่นสะท้านสังคมมนุษย์มากยิ่งขึ้น   ตัวอย่างเช่นคาดกันว่าภายในปีนี้ OpenAI ซึ่งเป็นเจ้าของ ChatGPT จะนำเสนอ “SORA” ที่มีความสามารถในการ เปลี่ยนภาษาเขียน คือ ตัวหนังสือธรรมดาๆ นี่แหละ ให้เป็นวิดีโอได้ด้วย แถมยังคาดหวังกันว่า คุณภาพของวิดีโอที่ได้ออกมานั้น จะอยู่ในระดับภาพยนต์ฮอลลีวู้ดเลยทีเดียว   ที่น่ากลัวอีกเรื่องหนึ่งก็คือเทคโนโลยี…

เจอช่องโหว่ AI คายความลับ เข้ารหัสดักฟังข้อมูล

Loading

แม้ผู้ช่วยอัจฉริยะ (AI Assistant) จะเหมือนเพื่อนสนิทที่ไว้ใจปรึกษาเรื่องต่างๆ ได้ แต่การสื่อสารที่เข้ารหัสกับ AI อาจไม่ปลอดภัย 100% โดยล่าสุด นักวิจัยชาวอิสราเอล ค้นพบช่องโหว่ที่แฮ็กเกอร์สามารถดักฟังข้อมูลจากการตอบกลับที่เข้ารหัสของ AI ได้

‘การ์ทเนอร์’ จับกระแส ‘6 เทรนด์’ กระทบความมั่นคงไซเบอร์

Loading

การ์ทเนอร์ เผย 6 แนวโน้มความมั่นคงไซเบอร์ที่สำคัญในปี 2567 โดยระบุว่า Generative AI, ช่องว่างการสื่อสารในทีมบริหาร, พฤติกรรมพนักงานที่ไม่ปลอดภัย, ความเสี่ยงจากบุคคลที่สาม, ภัยคุกคามที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง, รวมถึงแนวทางการรักษาความปลอดภัยที่ยึดการยืนยันตัวตนเป็นหลัก ล้วนเป็นปัจจัยที่อยู่เบื้องหลังและคอยขับเคลื่อนแนวโน้มความมั่นคงไซเบอร์ที่สำคัญๆ ในปีนี้

เกาหลีเหนือเอาบ้าง เริ่มใช้ Generative AI หาช่องว่างซุ่มโจมตี

Loading

Microsoft ออกรายงานว่า พวกเขาตรวจพบภัยคุกคามจากต่างประเทศ โดยมีที่มีจากการใช้ใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์เชิงสร้างสรรค์ (Generative AI) ที่บริษัทและ OpenAI พัฒนาขึ้น

Microsoft และ OpenAI ออกรายงานแฮ็กเกอร์ใช้ ChatGPT ช่วยพัฒนาการโจมตีทางไซเบอร์

Loading

ข้อมูลของไมโครซอฟท์ และโอเพนเอไอ เปิดเผยว่า แฮ็กเกอร์เริ่มใช้โมเดลภาษาขนาดใหญ่ พัฒนาการเขียนสคริปต์ และอีเมลฟิชชิ่ง ช่วยเหลือด้านการโจมตีทางไซเบอร์ ไมโครซอฟท์ และโอเพนเอไอ เปิดเผยข้อมูลสำคัญที่ทำให้คนทั้งโลกต้องตระหนักถึงภัยคุกคามทางไซเบอร์มากขึ้น เมื่อในเวลานี้แฮ็กเกอร์กำลังใช้โมเดลภาษาขนาดใหญ่เข้ามาช่วยเหลือปฏิบัติการโจมตีทางไซเบอร์