จับสังเกต ChatGPT อันตราย เปิดให้ใช้งานฟรี แต่เป็นลิงก์ปลอม

Loading

ด้วยความนิยมอย่างมากของ ChatGPT ที่เปิดให้ใช้งานได้ฟรี ทำให้มิจฉาชีพพยายามใช้ประโยชน์ฟิชชิ่งเพื่อหลอกลวง และขโมยข้อมูลจากผู้ใช้งาน ทั้งการทำเว็บไซต์เลียนแบบ สร้าง URL ให้มีความคล้ายคลึง หรือแม้กระทั่งการซื้อโฆษณาผ่านแพลทฟอร์มต่าง ๆ เพื่อล่อให้คนเข้ามาใช้งาน Techhub เลยจะมาแนะนำว่าวิธีดูว่า ลิงก์ไหน เป็นลิงก์ปลอม หรือวิธีสังเกต ChatGPT ปลอม ๆ

“ไมโครซอฟท์” ห้ามพนักงานใช้ “ChatGPT” ชั่วคราว อ้างวิตกด้านความปลอดภัย

Loading

มโครซอฟท์ คอร์ป ซึ่งเป็นบริษัทซอฟต์แวร์จากสหรัฐ ได้ทุ่มเม็ดเงินลงทุนหลายพันล้านดอลลาร์สหรัฐในบริษัทโอเพนเอไอ (OpenAI) ซึ่งเป็นสตาร์ตอัปผู้พัฒนาแชตจีพีที (ChatGPT) แชตบอตเอไอยอดนิยม แต่ในช่วงเวลาสั้น ๆ ในวันพฤหัสบดี (9 พ.ย.) ไมโครซอฟท์ได้สั่งห้ามไม่ให้พนักงานใช้งาน ChatGPT

กองทัพอวกาศสหรัฐหยุดใช้ ChatGPT ชั่วคราวจากความเสี่ยงด้านความปลอดภัย

Loading

“มีการระงับเชิงกลยุทธ์ในการใช้ Generative AI และโมเดลภาษาขนาดใหญ่ภายในกองทัพอวกาศสหรัฐฯ ในขณะที่เรากำหนดแนวทางที่ดีที่สุดในการบูรณาการความสามารถเหล่านี้เข้ากับบทบาทของเจ้าหน้าที่และภารกิจของ USSF” โฆษกกองทัพอวกาศ Tanya Downsworth กล่าวใน คำสั่ง

การหลอกลวงทั่วโลกพุ่ง 10.2% ‘Whoscall’ เตือนระวัง มิจฉาชีพใช้ AI ปลอมเสียง

Loading

Gogolook ผู้พัฒนาแอปพลิเคชัน Whoscall และผู้ให้บริการทางด้านเทคโนโลยี เพื่อความเชื่อมั่น (TrustTech) เตือนภัยมิจฉาชีพในประเทศไทยเริ่มใช้วิธีหลอกลวงใหม่ด้วยเทคโนโลยี AI ปลอมเสียง

เมื่อเอไออย่าง ChatGPT กำลังมาแทนที่นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล

Loading

เมื่อ 4-5 ปีก่อนเราเคยกล่าวกันว่า อาชีพนักวิทยาศาสตร์ข้อมูลหรือ Data Scientist เป็นอาชีพที่น่าสนใจ เพราะองค์กรต่าง ๆ มีความต้องการที่จะวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่มากขึ้น จึงต้องเสาะหาผู้เชี่ยวชาญทางด้านนี้มากขึ้น ถึงกับมีคนกล่าวว่า นักวิทยาศาสตร์ข้อมูลเป็นอาชีพสุดฮ็อต ขึ้นแท่น ‘The Sexiest Job’ แห่งศตวรรษที่ 21

เจาะลึกวิธีผู้ร้ายไซเบอร์ใช้ AI โจมตีองค์กร

Loading

แคสเปอร์สกี้ (Kaspersky) เตือนโลกรับมือผู้ร้ายไซเบอร์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ (AI) โจมตีองค์กร ชำแหละวิธีใช้ ChatGPT ช่วยเขียนมัลแวร์-นำ AI มาใช้ในการโจมตีทางไซเบอร์ ด้วยการเขียนสคริปต์ซอฟตฺแวร์ประสงค์ร้ายแบบที่ไม่ต้องใช้ความรู้ความเชี่ยวชาญใด ๆ