DevSecOps คืออะไร? ทำไมสำคัญกับโลกไซเบอร์

Loading

DevSecOps (Development, Security, and Operations) เป็นแนวทางในการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ผสานรวมแนวทางปฏิบัติด้านความปลอดภัยตลอดวงจรการพัฒนาซอฟต์แวร์ทั้งหมด

‘ดีอี’ คิฟออฟเอ็มโอยูสภาผู้แทนฯ หนุนใช้คลาวด์กลางภาครัฐแล้ว

Loading

วันนี้ (28 มิถุนายน 2567) นายประเสริฐ จันทรรวงทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม หรือ ดีอี และนายวิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ เรื่อง “การสนับสนุนบริการระบบคลาวด์กลางภาครัฐ” (Government Data Center and Cloud Service : GDCC) ร่วมกับสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร โดยมีนายปดิพัทธ์ สันติภาดา รองประธานสภาผู้แทนราษฎร และว่าที่ร้อยตำรวจตรีอาพัทธ์ สุขะนันท์ เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ลงนาม พร้อมด้วยนายภุชพงค์ โนดไธสง เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หรือ สดช.

อินโดนีเซียเร่งคุมเข้มความปลอดภัยทางไซเบอร์หลังถูกแรนซัมแวร์โจมตี

Loading

การโจมตีทางไซเบอร์ที่เกิดขึ้นเมื่อเร็ว ๆ นี้ในอินโดนีเซียซึ่งส่งผลกระทบอย่างมากต่อระบบข้อมูลระดับชาตินั้น ได้กระตุ้นให้อินโดนีเซียเพิ่มความยืดหยุ่นทางไซเบอร์ และประเมินนโยบายเทคโนโลยีดิจิทัล

ยุโรป ตะวันออกกลาง และแอฟริกา กำลังตกเป็นเป้า DDoS มากที่สุดในโลก

Loading

Akamai ผู้ให้บริการ CDN และ Cybersecurity ชั้นนำของโลก ออกรายงาน Fighting the Heat: EMEA’s Rising DDoS Threats พบว่าภูมิภาค EMEA (ยุโรป ตะวันออกกลาง และแอฟริกา) กำลังตกเป็นเป้าหมายของการโจมตีแบบ DDoS มากที่สุดในโลก คิดเป็นจำนวนเกือบ 2,500 ครั้งตลอดปี 2023 สูงกว่า APJ (เอเชียแปซิฟิกและญี่ปุ่น) และ LATAM (ละตินอเมริกา) ถึง 3 เท่า

ธุรกิจ 62% ยอมรับ ‘มีช่องโหว่’ ระบบกันภัย ‘สำนักงานใหญ่ – สาขา’

Loading

  การศึกษาล่าสุดโดย “แคสเปอร์สกี้” เผย ธุรกิจที่มีสาขาอยู่ทั่วโลกกว่า 62% พบว่า องค์กรมีช่องโหว่ จากความแตกต่างกันในระดับความแข็งแรงของการป้องกันทางไซเบอร์   บริษัท 48% ยอมรับว่ามีปัญหานี้ แต่ไม่ได้มองว่าเป็นเรื่องวิกฤติ บริษัท 14% ระบุว่า สาขาของตนนั้นต้องการมาตรการด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์เพิ่มเติม   ผู้เชี่ยวชาญของแคสเปอร์สกี้เตือนธุรกิจที่มีหลายสาขาว่า ความแตกต่างกันดังกล่าวอาจส่งผลต่อความปลอดภัยขององค์กรทั้งหมด   62% ยอมรับว่า ‘มีช่องโหว่’ แคสเปอร์สกี้เผยถึงข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับปัญหาด้านความปลอดภัยของเครือข่ายและข้อมูลที่บริษัทเหล่านี้ต้องเผชิญโดยระบุว่า มีบริษัทที่ตอบแบบสอบถามเพียง 38% เท่านั้น ที่มั่นใจว่าระบบป้องกันภัยคุกคามทางไซเบอร์ของบริษัทสาขามีประสิทธิภาพเท่ากับในสำนักงานใหญ่   ขณะที่ บริษัท 62% ยอมรับว่ามีช่องโหว่ด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ระหว่างสำนักงานใหญ่กับสาขา โดยแบ่งเป็นบริษัท 48% เห็นว่ามีปัญหาแต่ไม่ได้รุนแรง บริษัทเหล่านี้เชื่อว่าสาขาส่วนใหญ่ได้รับการป้องกันที่ดี   บริษัท 13% มองว่าปัญหานี้ค่อนข้างน่าเป็นห่วง โดยคิดว่ามีเพียงไม่กี่สาขาที่ได้รับการป้องกันอย่างเพียงพอ บริษัท 1% ระบุว่า ไม่มีสาขาใดเลยที่ได้รับการรักษาความปลอดภัยอย่างแท้จริง   นอกเหนือจากข้อจำกัดด้านงบประมาณ เหตุผลประการหนึ่งที่ทำให้การป้องกันไซเบอร์มีความเหลื่อมล้ำ คือการขาดความเชื่อมั่นในความเชี่ยวชาญของพนักงานประจำสาขา   รายงานพบว่าบริษัท 37%…