เทรนด์พลังงานนิวเคลียร์ 2025 นวัตกรรมที่จะพลิกโฉมโลก

Loading

  ในปี 2025 ความต้องการแหล่งพลังงานที่สะอาดและยั่งยืน ทำให้ภาคพลังงานนิวเคลียร์กำลังเติบโตและเป็นที่ต้องการอย่างมาก เพราะเป็นพลังงานที่มีเสถียรภาพและปล่อยคาร์บอนต่ำ โดยองค์การพลังงานระหว่างประเทศ (IEA) คาดการณ์ว่า การผลิตพลังงานนิวเคลียร์ทั่วโลกจะเติบโตขึ้นเกือบ 3% ต่อปีจนถึงปี 2026 พลังงานนิวเคลียร์ฟื้นตัวในบางประเทศ เช่น จีนตั้งเป้าที่จะมีความสามารถผลิตพลังงานนิวเคลียร์สูงถึง 100 กิกะวัตต์ (GW) ภายในปี 2025 ขณะที่อินเดียยังคงเพิ่มจำนวนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ โดยให้ความสำคัญกับเทคโนโลยีเครื่องปฏิกรณ์ขนาดเล็ก (SMRs) ในยุโรป หลายประเทศกำลังพิจารณานโยบายยกเลิกการยุติการใช้พลังงานนิวเคลียร์ เช่น ฝรั่งเศส ซึ่งเป็นผู้ผลิตพลังงานนิวเคลียร์อันดับสองของโลกได้ประกาศว่าจะขยายพลังงานนิวเคลียร์ ในขณะที่ เยอรมนี ซึ่งเคยมีแผนที่จะยุติการใช้พลังงานนิวเคลียร์ ก็ได้เลื่อนการยุติออกไปเพื่อรักษาความเสถียรของกริดไฟฟ้าและความมั่นคงด้านพลังงาน ขณะที่ประเทศไทยก็กำลังดำเนินการในภาคพลังงานนิวเคลียร์เช่นกัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์การเปลี่ยนผ่านพลังงานที่กว้างขึ้น โดยโฟกัสไปที่ศักยภาพของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ขนาดเล็ก (SMRs) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้เป็นศูนย์ภายในปี 2065 อย่างไรก็ตาม การพิจารณาด้านกฎระเบียบและความปลอดภัย ความปลอดภัยยังคงเป็นปัจจัยสำคัญ โดยเฉพาะหลังจากเหตุการณ์ ฟุกุชิมะ ในปี 2011 ที่ทำให้ประชาชนรู้สึกไม่เชื่อมั่นต่อพลังงานนิวเคลียร์ยังคงมีอยู่ แต่รัฐบาลหลายๆ ประเทศ ก็ได้ดำเนินการเพื่อให้มั่นใจว่ามีมาตรฐานด้านความปลอดภัยที่ดี ผลิตพลังงานนิวเคลียร์เพิ่ม 3 เท่า แรงผลักดันที่สำคัญ คือ…

ความกระหายน้ำที่ซ่อนเร้นของศูนย์ข้อมูล Data Center

Loading

ศูนย์ข้อมูล Data Center มีเซิร์ฟเวอร์หลายพันเครื่องที่ขับเคลื่อนทุกอย่างตั้งแต่โซเชียลมีเดียและอีคอมเมิร์ซไปจนถึงปัญญาประดิษฐ์และการจัดเก็บข้อมูลบนคลาวด์ อย่างไรก็ตาม เบื้องหลังรูปลักษณ์ที่ดูดีของศูนย์ข้อมูล Data Center นั้นซ่อนเรื่องราวที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเป็นเรื่องของการใช้น้ำ

โอกาส ‘ประเทศไทย’ กับการเป็น ศูนย์กลาง ‘ดาต้าเซ็นเตอร์ภูมิภาค’

Loading

บ้านเราค่อนข้างให้ความสำคัญกับการมาลงทุนตั้ง ดาต้าเซนเตอร์ของบริษัทต่างประเทศมากพอควร ล่าสุด บีโอไอ ออกมาระบุว่า ปัจจุบันมีโครงการ ดาต้าเซนเตอร์ และคลาวด์ เซอร์วิส ขอรับการส่งเสริมลงทุนจากบีโอไอ รวม 46 โครงการ มูลค่าเงินลงทุน 167,989 ล้านบาท

รัฐบาลดิจิทัล (11) : สู่ “องค์กรดิจิทัลคล่องตัวสูง”

Loading

ผลลัพธ์ในมิติที่สาม ของการพัฒนาไปสู่รัฐบาลดิจิทัล ก็คือการยกระดับ “หน่วยงาน” ของรัฐเองไปสู่การเป็น “องค์กรดิจิทัล” ที่คล่องตัวสูง (Agile)

วิกฤติระบบไอทีล่มทั่วโลก เป็นสัญญาณเตือนว่าถึงเวลาทบทวน BCP แล้ว

Loading

จากเหตุการณ์จอฟ้าของระบบปฏิบัติการ (Blue Screen of Dead, BSoD) ทำให้ระบบไอทีล่มกระจายตัวไปทั่วโลก ส่งผลให้กระบวนการทำงานขององค์กรต่าง ๆ ในหลากหลายอุตสาหกรรมรวมถึงภาครัฐบางส่วน เกิดการหยุดชะงัก

คณะทำงานนายกฯ ชี้ แอป ‘ทางรัฐ’ ปลอดภัย ข้อมูลประชาชนถูกเจาะผ่านเว็บไม่ได้

Loading

วันนี้ (1 สิงหาคม) ศุภกร คงสมจิตต์ คณะทำงานของนายกรัฐมนตรี ด้านการลงทุนระหว่างประเทศ ย้ำถึงความปลอดภัยของแอปพลิเคชัน ‘ทางรัฐ’ ว่าเป็นระบบเว็บไซต์กับแอปพลิเคชัน ทั้ง Web App และ Mobile App ที่แยกออกจากกัน ต่อให้มีการแฮ็กหน้าเว็บไซต์ได้ก็ไม่ได้แปลว่าจะเข้าถึงข้อมูลหลังบ้านซึ่งเป็นหัวใจของระบบบริการต่างๆ ได้เหมือนการสั่งอาหารบนแอปพลิเคชันหรือการใช้บริการพร้อมเพย์ที่ไม่สามารถดำเนินการบนเว็บไซต์ได้ ดังนั้นแก่นของแอปพลิเคชันทางรัฐจึงอยู่ที่ Mobile App ไม่มี Web App ทำให้ไม่สามารถเจาะถึงข้อมูลสำคัญได้