พบแฮ็กเกอร์ใช้เครื่องมือ AI สำหรับตัดต่อวิดีโอ (ปลอม) หลอกปล่อยมัลแวร์ใส่ Windows และ macOS

Loading

การใช้งาน AI หรือ ปัญญาประดิษฐ์ นั้นกำลังเป็นที่นิยมอยู่ในปัจจุบัน ทำให้มีเครื่องมือต่าง ๆ ทั้งที่ใช้งานบนเว็บไซต์ และแบบติดตั้งเพื่อใช้งานบนเครื่องโดยตรงออกมามากมาย และนั่นก็เป็นอีกจุดหนึ่งที่แฮกเกอร์นำเอามาใช้ประโยชน์เพื่อปล่อยมัลแวร์ของตนเอง

‘Phishing’ ระบาดในอาเซียน ‘ไทย’ หนักสุด

Loading

  แคสเปอร์สกี้ ระบุว่า ช่วงครึ่งปีแรก (มกราคม – มิถุนายน 2024) เทคโนโลยีต่อต้านฟิชชิง (anti-phishing) ของแคสเปอร์สกี้ตรวจพบการโจมตีด้วยฟิชชิงการเงินจำนวน 336,294 ครั้งที่พยายามโจมตีองค์กรและธุรกิจต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้   เอเดรียน เฮีย กรรมการผู้จัดการประจำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก แคสเปอร์สกี้ เผยว่า อาชญากรใช้วิธีแอบอ้างเป็นแบรนด์อีคอมเมิร์ซ ธนาคารและการชำระเงิน มีเป้าหมายเพื่อขโมยข้อมูลประจำตัวและข้อมูลละเอียดอ่อนอื่น ๆ   การโจมตีด้วยฟิชชิงทางการเงินเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เนื่องจากอาชญากรไซเบอร์พัฒนาและปรับเปลี่ยนกลวิธีให้ซับซ้อนอย่างต่อเนื่อง จำนวนการโจมตีเพิ่มขึ้น 41% เมื่อเทียบกับหกเดือนแรกของปีที่แล้ว   รับการกระตุ้นจากการนำระบบดิจิทัลมาใช้มากขึ้น รวมถึงการใช้ปัญญาประดิษฐ์และระบบอัตโนมัติโดยผู้ก่อภัยคุกคาม เพื่อสร้างเนื้อหาที่น่าเชื่อถือและกำหนดเป้าหมายการโจมตีได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น   ปัจจุบัน จำนวนผู้ใช้ที่มีแนวโน้มจะตกเป็นเหยื่อนั้นเพิ่มขึ้นในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา เป็นผลมาจากการใช้งานธนาคารออนไลน์และเงินดิจิทัลที่เพิ่มมากขึ้น   ผู้เชี่ยวชาญของแคสเปอร์สกี้ระบุว่า การเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วนี้เป็นผลมาจากกิจกรรมฉ้อโกงที่เพิ่มขึ้น ไม่ใช่การที่ผู้ใช้ระมัดระวังน้อยลง อาชญากรทางไซเบอร์เริ่มรุกรานมากขึ้นเพื่อหาข้อมูลและเงินของผู้ใช้ ซึ่งรวมถึงดีไวซ์ขององค์กรด้วย   ฟิชชิงทางการเงินเป็นการโจมตีรูปแบบหนึ่งของฟิชชิง ซึ่งเป็นการฉ้อโกงโจมตีธนาคาร ระบบการชำระเงินและร้านค้าดิจิทัล เป็นวิธีการที่ผู้โจมตีหลอกล่อเหยื่อให้เปิดเผยข้อมูลส่วนตัวและข้อมูลที่มีค่า   เช่น ข้อมูลรับรองเพื่อเข้าสู่ระบบบัญชีทางการเงิน รวมถึงข้อมูลส่วนตัวและข้อมูลองค์กรอื่นๆ ที่จัดเก็บไว้ในบัญชี…

‘ฟูจิตสึ’ ถอดกลยุทธ์ ‘ความยั่งยืน’ หนุนใช้ ‘ดิจิทัล’ สร้างการเปลี่ยนแปลง

Loading

    อุทกภัยในภาคเหนือของประเทศไทยในปี 2567 ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงและแพร่หลายครอบคลุมพื้นที่กว่า 8.6 ล้านไร่ และสร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจโดยประมาณระหว่าง 30,000 ถึง 40,000 ล้านบาท   การวิเคราะห์เพิ่มเติมโดยวิจัยกรุงศรียังเผยให้เห็นภาพความเสียหายยิ่งกว่า โดยคาดการณ์มูลค่าความสูญเสียรวมสูงถึง 46,500 ล้านบาท ซึ่งรวมความเสียหายทั้งภาคการเกษตรมูลค่า 43,400 ล้านบาท และด้านทรัพย์สินอีก 3,100 ล้านบาท‘ฟูจิตสึ’ ถอดกลยุทธ์ ‘ความยั่งยืน’ หนุนใช้ \’ดิจิทัล’ สร้างการเปลี่ยนแปลง     กนกกมล เลาหบูรณะกิจ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ฟูจิตสึ (ประเทศไทย) จำกัด เปิดมุมมองว่า การเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศกำลังปรับโฉมเศรษฐกิจและก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อธุรกิจทั่วโลก ซึ่งส่งผลกระทบทั้งในประเทศไทยและทั่วโลก   ไม่ใช่ ‘มีก็ดี’ แต่เป็นสิ่งที่ ‘ต้องมี’   ปัจจุบัน ภาคธุรกิจต่างเร่งปรับตัวเพื่อให้สามารถเติบโตต่อไปได้ในสภาพแวดล้อมที่ท้าทายนี้ ทว่าจากการสำรวจความคิดเห็นผู้บริหารระดับ C-level กว่า 600 คนจาก 15 ประเทศใน…

การเพิ่มขึ้นของความเสี่ยงจากการฉ้อโกงข้อมูลไบโอเมตริกซ์ และผลกระทบต่อสถาบันการเงิน

Loading

  การบริหารความเสี่ยงทางไซเบอร์ต้องเน้นการตรวจสอบความปลอดภัยของผู้ให้บริการบุคคลที่สามอย่างเคร่งครัด ควรประเมินการตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบไบโอเมตริกซ์ตามมาตรฐาน ISO 27001, NIST และการรับรอง SOC 2 Type 2 การใช้เครื่องมือตรวจสอบช่วยในการติดตามกิจกรรมของผู้ให้บริการอย่างต่อเนื่องและตั้งค่าการควบคุมการเข้าถึงข้อมูลอย่างเข้มงวดจะช่วยลดความเสี่ยงในการละเมิดข้อมูล   จากการคาดการณ์ของ Deloitte Center for Financial Services ภายในปี 2570 การฉ้อโกงข้อมูลไบโอเมตริกซ์สังเคราะห์จะก่อให้เกิดความสูญเสียมากกว่า 40 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เทคโนโลยีอย่าง Deepfake ถูกนำมาใช้เพื่อสร้างข้อมูลไบโอเมตริกซ์สังเคราะห์ที่มีความสมจริงและน่าเชื่อถือมากขึ้น โดยใช้ข้อมูลส่วนบุคคลที่ถูกขโมยจากเว็บมืดหรือสร้างขึ้นใหม่ การพัฒนาของ Generative AI ยังเพิ่มความเสี่ยงจาก Deepfake ให้รุนแรงขึ้น รายงานของ World Economic Forum (WEF) ในปี 2566 ระบุว่าเหตุการณ์ Deepfake ที่เกี่ยวข้องกับฟินเทคเพิ่มขึ้น 700% เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า และคาดว่าในปี 2569 เนื้อหาออนไลน์มากถึง 90% อาจถูกสร้างขึ้นด้วยเทคโนโลยีสังเคราะห์   ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก รวมถึงประเทศไทย การจัดการกับการฉ้อโกงข้อมูลไบโอเมตริกซ์กลายเป็นประเด็นเร่งด่วน…

ทำไม Generative AI ถึงเป็นเครื่องมือช่วยผู้ก่อการร้ายได้?

Loading

ตั้งแต่ปี 2022 เป็นต้นมา AI เชิงสังเคราะห์ (Generative AI – GenAI) พัฒนาอย่างก้าวกระโดด เป็นการปลดล็อกให้ใครก็ตามก็สามารถใช้ AI ได้ง่าย ๆ ไม่เว้นแม้แต่กลุ่มก่อการร้ายที่นำไปใช้ในรูปแบบที่คาดไม่ถึง

ข้อมูลเท็จที่สร้างโดย AI กลายเป็นปัญหาระดับโลก

Loading

“การเผยแพร่ข้อมูลผิดๆ และเฟคนิวส์ โดย AI กำลังกลายเป็นเรื่องธรรมดามากขึ้น” นี่คือคำให้สัมภาษณ์ของ “บิล เกตส์” ผู้ก่อตั้ง “ไมโครซอฟท์” บริษัทเทคโนโลยียักษ์ใหญ่ของโลกที่ให้ไว้กับรายการ CNBC Make