“AI” ช่วยป้องกันภัยไซเบอร์ได้อย่างไร?
การมาของ เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยยกระดับการทำงานในหลายส่วน ยังสามารถนำมาช่วยยกระดับความปลออดภัยทางไซเบอร์ซีเคียวริตี้ได้ด้วย
การมาของ เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยยกระดับการทำงานในหลายส่วน ยังสามารถนำมาช่วยยกระดับความปลออดภัยทางไซเบอร์ซีเคียวริตี้ได้ด้วย
ผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยไซเบอร์ได้ออกโรงเตือนว่าสถานการณ์อาจจะเลวร้ายลงเรื่อย ๆ เนื่องจากแก๊งอาชญากรใช้ประโยชน์จากปัญญาประดิษฐ์เชิงรู้สร้าง (Generative AI) ในการฉ้อโกง
เมื่อวันพุธ คณะทำงานของประธานาธิบดีโจ ไบเดน แห่งสหรัฐฯ กางแผนเบื้องต้นในการรับมือกับโมเดลปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI ขั้นสูงจากจีนและรัสเซีย โดยนักวิจัยจากภาครัฐและเอกชนต่างกังวลว่าประเทศคู่แข่งสหรัฐฯ อาจใช้ AI เป็นเครื่องมือในการสร้างภัยคุกคามได้หลากหลายรูปแบบ
เตือนภัย ! ยุคเทคโนโลยีล้ำหน้า “มิจฉาชีพ” ใช้ AI 3 รูปแบบทั้ง ปลอมเสียง ปลอมแปลงใบหน้า หรือสร้างบทความหลอกให้มาร่วมลงทุน ปัจจุบันมิจฉาชีพออนไลน์ มักมาทุกรูปแบบจนเหยื่อหลายรายตามไม่ทัน ซึ่งมุกมีใหม่ ๆ ที่ไม่มีใครคาดคิดทำให้มีประชาชนหลงกลตกเป็นผู้เสียหายจำนวนมาก ซึ่งที่ผ่านมาหน่วยงานต่าง ๆ ต่างเร่งแก้ไขปราบปราม ประชาชนสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่ประชาชน แต่คนร้ายแก๊งคอลเซ็นเตอร์ก็พัฒนาวิธีการหลอกรูปแบบใหม่ๆ โดยเฉพาะการนำเทคโนโลยี Ai มาเป็นเครื่องมือในการหลอกลวงกระทำความผิด รูปแบบของ AI ที่มิจฉาชีพนำมาใช้ ที่เริ่มพบเจอเยอะมากขึ้นได้แก่ • Voice Cloning หรือ การใช้ AI ปลอมเสียง โดยจะเป็นการใช้ AI เลียนแบบเสียงของบุคคลให้มีความคล้ายคลึงกับบุคคล เพื่อใช้ในการหลอกเหยื่อให้คิดว่าได้คุยกับคน ๆ นั้นจริง ๆ ก่อนที่จะหลอกให้โอนเงินหรือทำอะไรอย่างอื่นต่อไป • Deepfake หรือการใช้ AI ปลอมแปลงใบหน้าให้มีความคล้ายคลึงกับบุคคลต่างๆ เพื่อหลอกเชื่อว่าคน ๆ…
ปัจจุบันเหล่าบรรดาแฮ็กเกอร์เริ่มพัฒนาการโคลนเสียงมนุษย์โดยใช้ AI เพื่อหลอกล่อและฉ้อโกงทางการเงินกับเหยื่อโดยการทำให้คิดว่ากำลังพูดคุยกับคนที่รู้จักทางโทรศัพท์ ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นการพูดคุยกับคอมพิวเตอร์
การบังคับใช้กฎหมายด้านเอไอเพื่อให้มีจริยธรรม และธรรมาภิบาลเป็นความท้าทายใหม่ที่เข้ามาในทุกอุตสาหกรรม และการกำกับดูแลของภาครัฐว่าจะมีทิศทางอย่างไร เป็นสิ่งที่ต้องพิจารณาให้รอบด้านทุกมิติ ภายในงานเสวนา: AI Ethic: Trust & Transparency จัดโดย “กรุงเทพธุรกิจ” พลอากาศตรี อมร ชมเชย เลขาธิการคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ หรือ สกมช.กล่าวว่า สิ่งที่น่าเป็นห่วงมากของการใช้เอไอคือ สังคมมีความเป็นห่วงมากเกินไป ว่าเป็นดาบสองคม แต่ไม่รู้จักว่าจะใช้งานทางบวกอย่างไร และระวังเรื่องทางลบอย่างไร ด้านบวกหากไม่ใช่ ก็เปรียบเสมือนดาบทื่อ กลายเป็นไม่นำมาใช้ประโยชน์ใดๆ เลย ส่วนเรื่องการออกกฎหมายนั้น เชื่อว่า เป็นเรื่องที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจำเป็นต้องติดตามอย่างใกล้ชิด และ เป็นเรื่องของการบังคับใช้มาสเตอร์แพลน ที่ย่อมต้องตามมากับพัฒนาการ การใช้เอไอนั่นคือ การใช้งานอย่างมีจริยธรรม และมีกฎหมาย ต้องให้ความสำคัญกับการให้ความรู้ควบคู่กับการพัฒนาคนให้ใช้งานอย่างมีจริยธรรม ต่อไปเมื่อมีการนำเอไอมาใช้ จะเชื่อได้อย่างไร ถ้าเอไอตอบคำถามผิด จะรู้หรือมีกลไกในการตรวจสอบอย่างไร เพราะการตรวจเอไอไม่ได้ง่ายเหมือนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่สามารถทดสอบออกมาได้ว่าโปรแกรมนี้ถูกหรือไม่ “เอไอขึ้นอยู่กับการเรียนรู้ข้อมูลที่หลากหลายคำตอบที่ได้ จะดีที่สุดกับองค์กรของท่านหรือไม่ หรือดีในแง่ของจริยธรรมหรือไม่ ทั้งนี้ ในระหว่างที่กฎหมายกำลังขับเคลื่อน เราต้องตอบตัวเองให้ได้ ว่าจะมีการจำกัดดูแลกลไกของมันได้อย่างไร”…
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว