Whoscall เปิดสถิติปี 67 สายมิจฉาชีพทางโทรศัพท์-ข้อความ SMS หลอกลวงในไทยพุ่ง 168 ล้านครั้ง สูงสุดในรอบ 5 ปี

Loading

รายงานประจำปีครั้งนี้ยังได้เปิดเผยถึงปัญหาการรั่วไหลของข้อมูลส่วนบุคคลโดยตรวจสอบผ่านฟีเจอร์ “ID Security” ซึ่งถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยให้ผู้ใช้สามารถตรวจสอบความปลอดภัยของข้อมูล ส่วนบุคคลของตนเองได้ ในปีที่ผ่านมา ฟีเจอร์ ID Security กลายเป็นตัวช่วยสำคัญที่ช่วยเพิ่ม ความระมัดระวังความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล

เทียบมาตรการรัฐ VS เอกชน บล็อกมิจฉาชีพยุค AI กับคำถาม ทำไมมิจฉาชีพไม่หมดไป

Loading

การส่ง SMS คือช่องทางที่มิจฉาชีพใช้ AI ในการหลอกลวงประชาชนให้กดลิงก์ เป็นอันดับ 1 ควบคู่กับการใช้เบอร์โทรศัพท์มือถือหลอกลวง โดยส่วนใหญ่มิจฉาชีพต้องการขโมยข้อมูลมากที่สุด โดย 53% เหยื่อมักสูญเงินให้มิจฉาชีพภายในไม่เกิน 24 ชั่วโมง

ฟีเจอร์ใหม่ “Whoscall” เช็กได้ ว่ามีข้อมูลเราหลุดรั่วหรือไม่!

Loading

    Whoscall เปิดอัปเดตฟีเจอร์ใหม่ พร้อมวิธีใช้งาน “ID Security” ตรวจสอบได้ ว่ามีข้อมูลเราหลุดรั่วถึงมิจฉาชีพหรือไม่!   Whoscall แอปพลิเคชันสัญชาติไต้หวัน ที่สามารถแจ้งเตือนพร้อมระบุหมายเลขโทรศัพท์ที่เราไม่รู้จัก ซึ่งอาจเป็นเบอร์ของมิจฉาชีพ และยังช่วยกรองสายที่น่าสงสัยด้วยระบบ AI ได้ด้วย โดยแอปฯ นี้ เริ่มเป็นที่นิยมกว้างขวางในไทย นับตั้งแต่การระบาดของแก๊งคอลเซ็นเตอร์   ล่าสุด แอปฯ Whoscall อัปเดตการทำงานให้เหนือชั้นขึ้น ด้วยการเปิดฟีเจอร์ใหม่ ที่ช่วยเราตรวจสอบได้ว่า มีเบอร์โทรศัพท์ของเราหลุดรั่วไปอยู่ในมืออาชญากรออนไลน์หรือไม่!     การใช้งานฟีเจอร์ดังกล่าว ในหน้าแรก ให้เข้าไปที่แถบ ID Security จากนั้นให้พิมพ์หมายเลขโทรศัพท์ของเรา เมื่อพิมพ์เข้าไปแล้ว ระบบจะตรวจสอบให้ หากไม่มีข้อมูลเราหลุดรั่ว ระบบจะขึ้นไซเรนสีเขียวพร้อมเครื่องหมายติ๊กถูก พร้อมระบุว่า ไม่มีข้อมูลของเราไม่หลุดรั่ว   แต่หากพบ ระบบจะระบุว่า ข้อมูลของเรารั่วไหลไปกี่แห่ง กี่ประเภท และรั่วไหลไปยังแพลตฟอร์มใดบ้าง   ซึ่งเราสามารถเปิดให้แอปฯ แจ้งเตือนได้โดยอัตโนมัติ หากตรวจสอบพบข้อมูลของเรารั่วไหล   นอกจากนี้…