อธิปไตยทางดิจิทัลกับการครอบงำทางเทคโนโลยี

Loading

แคสเปอร์สกี้ (Kaspersky) ค้นพบแคมเปญภัยไซเบอร์รูปแบบใหม่ที่แพร่กระจายผ่านโฆษณาบนเว็บ และมุ่งเป้าโจมตีไปที่ผู้ใช้งานพีซีระบบปฏิบัติการ Windows โดยขณะที่เข้าเว็บไซต์ ผู้ใช้อาจจะคลิกโฆษณาที่โผล่ขึ้นมาปิดบังหน้าจอทั้งหมดโดยไม่รู้ตัว และไปที่หน้าเว็บ CAPTCHA ปลอม หรือข้อความแสดงข้อผิดพลาดของ Chrome ปลอม โดยหลอกให้ทำตามขั้นตอนต่างๆ เพื่อดาวน์โหลดมัลแวร์สตีลเลอร์ (stealer) แคสเปอร์สกี้ตรวจพบโฆษณาอันตรายลักษณะนี้มากกว่า 140,000 รายการในเดือนกันยายนและตุลาคม 2024 และพบว่าผู้ใช้จำนวนมากกว่า 20,000 คนถูกเปลี่ยนเส้นทางไปยังหน้าเว็บปลอมที่โฮสต์สคริปต์อันตราย โดยส่วนใหญ่เป็นผู้ใช้จากประเทศบราซิล สเปน อิตาลี และรัสเซีย ผู้เชี่ยวชาญแนะนำให้ผู้ใช้เข้าเว็บด้วยความระมัดระวัง และหลีกเลี่ยงการทำตามขั้นตอนที่น่าสงสัยเพื่อความปลอดภัย

ตุยแล้ว ‘ข้อมูลดิจิทัล’ ไปไหน? ผู้คนหวั่นตัวตนดิจิทัลโดนขโมยหลังเสียชีวิต

Loading

ผลการศึกษาล่าสุด โดย “แคสเปอร์สกี้ (Kaspersky)” ระบุว่า ผู้ใช้ 61% เชื่อว่า ข้อมูลประจำตัวของผู้เสียชีวิตมีความเสี่ยงที่จะถูกโจรกรรม

“โทรจันธนาคารมือถือ” ภัย Mobile Banking อันตรายสูงสุด!

Loading

สะเทือนไปทุกย่อมหญ้าเมื่อกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (กระทรวงดีอี) ออกมาประกาศชัดว่า ”โทรจันธนาคารบนมือถือ” เป็นภัยคุกคามที่ร้ายแรงที่สุดของประเทศไทย โดยสาเหตุที่ยกตำแหน่งแชมป์ให้ภัยนี้ คือ การก่อให้เกิดความเสียหายถึง 2.6 พันล้านบาท

กลุ่มแฮ็กเกอร์ CloudSorcerer มุ่งเป้าโจมตีหน่วยงานของรัฐบาลรัสเซียผ่านบริการคลาวด์สาธารณะ

Loading

เว็บไซต์ The Hackernews รายงานเมื่อ 8 ก.ค.67 ว่า กลุ่มผู้ก่อภัยคุกคามขั้นสูง (APT) ใหม่ ชื่อว่า CloudSorcerer ซึ่งยังไม่มีการบันทึกข้อมูลไว้ก่อนหน้านี้ กำลังโจมตีหน่วยงานของรัฐบาลรัสเซียที่การใช้บริการคลาวด์ เช่น Microsoft Graph, Yandex Cloud และ Dropbox โดยทำการสั่งการและควบคุม (command-and-control หรือ C2) และการขโมยข้อมูลของเหยื่อ ทั้งนี้ รูปแบบการโจมตีของกลุ่ม CloudSorcerer คล้ายคลึงกับกลุ่ม CloudWizard แต่แตกต่างกันที่ซอร์สโค้ดของมัลแวร์ 

สหรัฐแบนซอฟต์แวร์แอนตี้ไวรัส “แคสเปอร์สกี” ของรัสเซีย

Loading

รัฐบาลสหรัฐ มีคำสั่งห้าม “แคสเปอร์สกี” ซึ่งเป็นบริษัทการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ในรัสเซีย ไม่ให้จำหน่ายผลิตภัณฑ์แอนตี้ไวรัสยอดนิยมในสหรัฐ เนื่องจากมีความกังวลเกี่ยวกับความมั่นคงของชาติ

‘แคสเปอร์สกี้’ พบ ‘ข้อมูลรั่วไหล’ ปัญหาแก้ไม่ตก องค์กรธุรกิจทั่วอาเซียน

Loading

“แคสเปอร์สกี้” เปิดรายงาน “ความปลอดภัยทางไซเบอร์” ล่าสุด พบการโจมตีที่เป็นอันตรายจากเซิร์ฟเวอร์ที่โฮสต์ในประเทศไทยกว่า 3 แสนเหตุการณ์ โดยรวมสถานการณ์รุนแรงกว่าที่คิด การละเมิดข้อมูลในประเทศไทยจำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด