ออสเตรเลียตั้งเป้าเป็นประเทศที่มีความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์มากที่สุดในโลกภายในปี 2573

Loading

เว็บไซต์ ARN รายงานเมื่อ 8 ก.ค.67 ว่า กระทรวงมหาดไทยของออสเตรเลียกำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศไปสู่ความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์แห่งชาติ โดยออกคำสั่งให้หน่วยงานของรัฐดำเนินการตรวจสอบและคัดเลือกบริษัทจัดหาหรือจัดจำหน่ายสินค้าด้านเทคโนโลยี (supplier) ให้เข้มงวดมากขึ้น ประเมินความปลอดภัยต่อสินทรัพย์ทางเทคโนโลยีเป็นประจำ และประสานงานร่วมกับหน่วยข่าวกรองทางการสื่อสารของออสเตรเลีย (Australian Signals Directorate – ASD) ในการแบ่งปันข้อมูลภัยคุกคามทางไซเบอร์

66% ของมัลแวร์แพร่ระบาดผ่านไฟล์ PDF ตามข้อมูลรายงานฉบับล่าสุดจาก Unit 42 ของพาโล อัลโต้ เน็ตเวิร์กส์

Loading

    ช่องโหว่และรูรั่วต่างๆ ยังคงเป็นวิธีการที่คนร้ายนิยมใช้แพร่กระจายมัลแวร์สู่เป้าหมาย โดยเมื่อปีที่ผ่านมามีความพยายามโจมตีช่องโหว่ต่างๆ เพิ่มขึ้นถึง 55%   กรุงเทพฯ – 12 มิถุนายน 2566 – วันนี้ พาโล อัลโต้ เน็ตเวิร์กส์ (NASDAQ: PANW) ผู้นำระดับโลกด้านระบบรักษาความปลอดภัยไซเบอร์ เปิดเผย รายงานวิจัยแนวโน้มภัยคุกคามบนเครือข่ายฉบับที่ 2 จาก Unit 42 ที่วิเคราะห์ข้อมูลทางไกลทั่วโลกจาก ไฟร์วอลล์รุ่นใหม่หรือ Next-Generation Firewalls (NGFW), Cortex Data Lake, ระบบกรอง URL ขั้นสูง หรือ Advanced URL Filtering และ Advanced WildFire โดยสามารถตรวจพบแนวโน้มภัยคุกคามของมัลแวร์และให้ข้อมูลการวิเคราะห์แนวโน้มมัลแวร์ที่สำคัญส่วนใหญ่ซึ่งกำลังแพร่ระบาดทั่วไปในวงกว้าง   ที่ผ่านมาอัตราการโจมตีช่องโหว่ไม่มีแนวโน้มที่จะลดลง ในปี 2564 มีความพยายามราว 147,000 ครั้ง และเพิ่มขึ้นเป็น 228,000…

“Unit 42″เผยมัลแวร์เรียกค่าไถ่ก่อปัญหาการข่มขู่เพิ่มขึ้น 20 เท่า ไทยติดอันดับ 6 ในภูมิภาค

Loading

    Unit 42 ของพาโล อัลโต้ เน็ตเวิร์กส์ เปิดเผยรายละเอียดยุทธวิธีล่าสุดของแก๊งมัลแวร์เรียกค่าไถ่ ประเทศไทยติดอันดับที่ 6 ในแถบญี่ปุ่นและเอเชียแปซิฟิก การโจมตีด้วยมัลแวร์เรียกค่าไถ่ บริการเฉพาะด้านและบริการทางกฎหมาย รวมถึงอุตสาหกรรมการผลิต ตกเป็นเป้าหมายหลักในไทย   รายงานฉบับใหม่จากพาโล อัลโต้ เน็ตเวิร์กส์ ผู้นำระดับโลกด้านระบบรักษาความปลอดภัยไซเบอร์ พบว่า มัลแวร์เรียกค่าไถ่และวายร้ายขู่กรรโชกกำลังใช้เทคนิคที่รุนแรงยิ่งขึ้นเพื่อกดดันองค์กรต่างๆ โดยมีการข่มขู่เพิ่มขึ้นถึง 20 เท่า เมื่อเทียบกับปี 2564  ตามข้อมูลการรับมืออุบัติการณ์จาก Unit 42™ การข่มขู่ดังกล่าวมีทั้งทางโทรศัพท์และอีเมลที่มุ่งเป้าเป็นรายบุคคล โดยมากมักเป็นตำแหน่งผู้บริหารระดับสูงหรือแม้แต่ลูกค้าของบริษัท เพื่อกดดันให้องค์กรยอมจ่ายค่าไถ่ตามที่เรียกร้อง   โดย รายงานมัลแวร์เรียกค่าไถ่และการขู่กรรโชกประจำปี 2566 จาก Unit 42 เผยข้อมูลเชิงลึกที่รวบรวมจากการรับมืออุบัติการณ์ประมาณ 1,000 กรณี โดย Unit 42 ตลอดช่วง 18 เดือนที่ผ่านมา โดยการเรียกร้องของมัลแวร์เรียกค่าไถ่ยังคงเป็นปัญหาสำคัญของหลายองค์กรในช่วงปีที่ผ่านมา มีการจ่ายเงินสูงถึงกว่า 7 ล้านดอลลาร์ในบางกรณีที่ Unit 42 ทราบเรื่อง ค่ามัธยฐานของค่าไถ่อยู่ที่ 650,000 ดอลลาร์ ในขณะที่ค่ามัธยฐานของการจ่ายค่าไถ่อยู่ที่ 350,000 ดอลลาร์ ซึ่งบ่งชี้ว่าการเจรจาต่อรองที่มีประสิทธิภาพช่วยลดจำนวนค่าไถ่ที่ต้องจ่ายจริง   เวนดี วิตมอร์ รองประธานอาวุโสและหัวหน้าทีม Unit 42 ของพาโล อัลโต้ เน็ตเวิร์กส์ กล่าว กลุ่มมัลแวร์เรียกค่าไถ่และนักกรรโชกทรัพย์บีบบังคับเหยื่อ  โดยมีเป้าหมายสูงสุดอยู่ที่การเพิ่มโอกาสที่จะได้เงินค่าไถ่ การข่มขู่เกิดขึ้นกับมัลแวร์เรียกค่าไถ่ทุกๆ 1 ใน 5 กรณี ที่เราตรวจพบในช่วงหลัง จนเห็นได้ชัดถึงความพยายามของกลุ่มคนเหล่านี้ในการเรียกร้องเงิน…

Unit 42 พบการฝังตัวของแฮ็กเกอร์ต่อโครงข่ายของรัฐบาลอิหร่าน

Loading

    ทีม Unit 42 ของ Palo Alto Networks พบว่าแฮกเกอร์ที่มีชื่อเรียกว่า BackdoorDiplomacy (หรือ Playful Taurus) ก่อเหตุโจมตีทางไซเบอร์ต่อองค์กรรัฐบาลอิหร่านในช่วงเดือนกรกฎาคมจนถึงปลายเดือนธันวาคม 2022   Unit 42 ได้เฝ้าดูการที่โดเมนของรัฐบาลอิหร่านพยายามเชื่อมต่อไปยังโครงสร้างพื้นฐานมัลแวร์ที่ทาง BackdoorDiplomacy สร้างไว้   BackdoorDiplomacy เป็นกลุ่มแฮกเกอร์ที่เชื่อกันว่ามาจากจีน โดยมีอีกหลายชื่อ อาทิ APT15, KeChang, NICKEL, และ Vixen Panda ที่ผ่านมามีประวัติปฏิบัติการโจมตีทางไซเบอร์แบบฝังตัวต่อรัฐบาลในทวีปอเมริกา แอฟริกา และตะวันออกกลาง ตั้งแต่ปี 2010 เป็นต้นมา   สำหรับการโจมตีล่าสุดนั้น Unit 42 พบการใช้ Backdoor (ช่องทางลัดเข้าไปยังระบบเป้าหมาย) ในการโจมตีหน่วยงานรัฐบาลในอิหร่าน   โดยจากการติดตามดู 4 องค์กรอิหร่าน อาทิ กระทรวงการต่างประเทศ และองค์กรทรัพยากรธรมชาติ พบว่า…