เปิด 20 อันดับ password ขี้เกียจคิด-เดาง่ายสุดประจำปี 2566
นอร์ดพาส (NordPass) บริษัทบริหารจัดการรหัสผ่าน (password) ร่วมกับนักวิจัยอิสระเผยแพร่ผลการวิจัยล่าสุดเกี่ยวกับรหัสผ่านที่คาดเดาง่ายและใช้กันบ่อยมากที่สุดในปี 2566
นอร์ดพาส (NordPass) บริษัทบริหารจัดการรหัสผ่าน (password) ร่วมกับนักวิจัยอิสระเผยแพร่ผลการวิจัยล่าสุดเกี่ยวกับรหัสผ่านที่คาดเดาง่ายและใช้กันบ่อยมากที่สุดในปี 2566
บ้านเราก็คงรู้จักคำว่า ‘สังคมไร้เงินสด’ ที่เราไม่จำเป็นต้องพกเงินสดอยากจะซื้อของอะไรก็ใช้การสแกน QR Code โอนเงิน หรือใช้การแตะบัตรจ่ายเงิน แต่ถ้าเป็นรหัสผ่านล่ะ เราสามารถใช้ชีวิตโดยไม่ต้องป้อนรหัสผ่านได้หรือไม่ คำตอบตอนนี้คือเป็นไปได้ ด้วยการมาถึงของมาตรฐาน Passkeys ก่อนจะไปทำความรู้จัก Passkeys มาทำความรู้จักรากเหง้าของรหัสผ่านแบบสั้น ๆ กันก่อนที่พวกเราต้อง จำแล้ว จำอีก จำต่อไป ในทุก ๆ วัน บทความนี้เราเล่าอะไรบ้าง • จุดกำเนิดของระบบ Password เกิดขึ้นเมื่อ 63 ปีที่แล้ว • เราใช้อะไรนอกเหนือ Password ได้บ้างในการยืนยันตัวเอง • ปัญหาของการใช้ Password ในปัจจุบัน • Passkeys มันคืออะไร ? • หลักการทำงาน Passkeys • วิธีการใช้งาน Passkeys • Passkeys มีให้ใช้ในเซอร์วิสอะไรบ้าง…
การมาของ ChatGPT และ Bard เป็นเครื่องมือที่ทำให้เราได้รู้ว่า AI นั้นมีความสามารถมากขนาดไหน แต่ถึงอย่างนั้นทุกอย่างก็สามารถนำไปใช้ในทางที่ไม่ดีได้ AI ก็เช่นเดียวกัน Home Security Heroes บริษัทด้านการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ได้เผยแพร่ผลการศึกษาเกี่ยวกับ AI เรื่องการแคร็กรหัสผ่าน โดยการใช้เครื่องมือใหม่ที่เรียกว่า PassGAN (password generative adversarial network) ซึ่งใช้ AI เป็นตัวขับเคลื่อน นักวิจัยได้ใช้ PassGAN ในการแคร็กรหัสผ่านกว่า 15 ล้านแบบ ผลการรันเครื่องมือดังกล่าวพบว่า รหัสผ่านทั่วไปกว่า 51% สามารถแคร็กได้ โดยใช้เวลาไม่ถึง 1 นาที, 65% ใช้เวลาแคร็กต่ำกว่า 1 ชั่วโมง, 71% ใช้เวลาน้อยกว่า 1 วัน อีก 81% ใช้เวลาน้อยกว่า 1 เดือน …
สำนักงานผู้ตรวจการกระทรวงมหาดไทยสหรัฐฯ (Department of Interior – DOI) รายงานถึงการตรวจสอบรหัสผ่านในระบบพบว่ามีการใช้รหัสผ่านที่อ่อนแอจำนวนมาก และผู้ตรวจสอบสามารถหารหัสผ่านจากค่าแฮชได้ถึง 16% ของผู้ใช้ทั้งหมดที่มีอยู่ 85,944 คนได้ภายใน 90 นาที และเมื่อหารหัสต่อไปก็สามารถหารหัสผ่านเจอถึง 21% ของผู้ใช้ทั้งหมด รหัสผ่านยอดนิยมมักเป็นคำว่า “password” ผสมกับ “1234” ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้ผ่านกฎความซับซ้อนรหัสผ่านไปเรื่อย ๆ เฉพาะ “Password-1234” (มีตัวใหญ่, ตัวเล็ก, เครื่องหมาย, และตัวเลข) มีการใช้งานถึง 478 ครั้ง ทาง DOI มีมาตรฐานภายในกระทรวงระบุให้รหัสผ่านต้องยาวอย่างน้อย 12 ตัวอักษร ต้องประกอบตัวประเภทตัวอักขระตัวเล็ก, ตัวใหญ่, ตัวเลข, และเครื่องหมาย อย่างน้อย 3 ใน 4 ประเภท พร้อมกับบังคับเปลี่ยนรหัสผ่านทุก 60 วัน การตรวจสอบก่อนหน้านี้เจ้าหน้าที่สามารถหารหัสผ่านเจอสูงถึง…
เปิด 20 อันดับ รหัส หรือ พาสเวิร์ด ยอดแย่ ที่ปี 2023 แล้ว ใครยังใช้อยู่รีบเปลี่ยนด่วน! ก่อนโดนแฮกโดยไม่รู้ตัว เพราะรหัสเดาง่ายเกินไป Password หรือ รหัสผ่าน ที่เอาไว้ใช้ Login เข้าใช้งานเว็บไซต์ต่าง ๆ เป็นหน้าด่านสำคัญในการป้องกันข้อมูลส่วนบุคคลของเราไปถึงมือคนร้ายในการโจรกรรมเงิน โจรกรรมข้อมูล หรือใช้หน้าเราไปหลอกลวงคนอื่น ดังนั้น การตั้งรหัสให้แฮก-เดายากจึงเป็นเรื่องสำคัญ โดยรหัสที่ดี ควรมีทั้งตัวพิมพ์ใหญ่และตัวพิมพ์เล็ก , สัญลักษณ์ เช่น # @ % และ ตัวเลข แต่ต้องไม่ใช่เลขในข้อมูลส่วนบุคคลเพียงอย่างเดียวด้วย เช่น รหัสบัตรประชาชน และเบอร์มือถือ เปิดรหัสยอดแย่ ปี 2023 แล้ว ใครยังใช้พาสเวิร์ดเหล่านี้อยู่ รีบเปลี่ยนด่วน เปิด 20 รหัสยอดแย่ใครยังใช้อยู่รีบเปลี่ยนด่วน 1. 123456…
วิธีใส่รหัสให้ไฟล์ ZIP ช่วยให้ไฟล์สำคัญของคุณที่ทำการบีบอัดเป็น ZIP ไฟล์นอกจากทำให้ปลอดภัยขึ้นแล้ว ยังทำให้ขนาดไฟล์เล็กลง และส่งไฟล์ได้สะดวกด้วย ซึ่งวิธีการใส่รหัสนั้นก็ทำได้ง่ายๆ บทความนี้จึงนำเสนอวิธีการ ZIP พร้อมใส่รหัสให้ปลอดภัยขึ้นผ่านทางโปรแกรม 7-Zip ซึ่งเป็นโปรแกรม Opensource ใช้งานฟรี ก่อนอื่นสำหรับผู้ที่ไมมีโปรแกรม 7-zip สามารถดาวน์โหลดเวอร์ชั่นล่าสุดมาติดตั้งฟรี ได้ทื่เว็บไซต์ 7-zip.org ใช้ได้ทั้ง Windows และ Linux แล้วทำการติดตั้งให้เรียบร้อย หากติดตั้งอยู่แล้วก็เริ่มทำตามกันได้เลย ลากเม้าส์คลุมไฟล์ที่ต้องการทำการ ZIP ไฟล์ จากนั้นคลิกเม้าส์ขวา แล้วเลือกที่ Add to archive… จะแสดงหน้าต่างขนาดใหญ่ขึ้นมา ให้ตั้งชื่อไฟล์ 7z หรือ zip ตามที่คุณต้องการในช่องหมายเลข 1 Archive แล้วใส่รหัสผ่านที่ Enter Password และ Reenter Password ให้เหมือนกัน ตามหมายเลข 2 , 3 ทั้งนี้แนะนำให้ใส่รหัสผ่านเป็นตัวอักษรภาษาอังกฤษปนกับตัวเลขหรือสัญลักษณ์ จากนั้นกดปุ่ม OK…
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว