CrowdStrike ออกรายงานเทรนด์การโจมตีไซเบอร์ การสวมรอย และโจมตีแบบข้ามโดเมนเพิ่มสูงขึ้น
CrowdStrike บริษัทโซลูชันความปลอดภัยทางไซเบอร์ ออกรายงาน 2024 Global Threat เพื่อให้ข้อมูล และให้ระมัดระวังแนวโน้มที่เกิดขึ้นในการโจมตีทางไซเบอร์
CrowdStrike บริษัทโซลูชันความปลอดภัยทางไซเบอร์ ออกรายงาน 2024 Global Threat เพื่อให้ข้อมูล และให้ระมัดระวังแนวโน้มที่เกิดขึ้นในการโจมตีทางไซเบอร์
ข้อมูลของไมโครซอฟท์ และโอเพนเอไอ เปิดเผยว่า แฮ็กเกอร์เริ่มใช้โมเดลภาษาขนาดใหญ่ พัฒนาการเขียนสคริปต์ และอีเมลฟิชชิ่ง ช่วยเหลือด้านการโจมตีทางไซเบอร์ ไมโครซอฟท์ และโอเพนเอไอ เปิดเผยข้อมูลสำคัญที่ทำให้คนทั้งโลกต้องตระหนักถึงภัยคุกคามทางไซเบอร์มากขึ้น เมื่อในเวลานี้แฮ็กเกอร์กำลังใช้โมเดลภาษาขนาดใหญ่เข้ามาช่วยเหลือปฏิบัติการโจมตีทางไซเบอร์
ไมโครซอฟท์ เผยแพร่รายงานการป้องกันดิจิทัล ระบุ กลุ่มแฮ็กเกอร์เชื่อมโยงกับกลุ่มฮามาส มุ่งเป้าโจมตีไปที่องค์กรภาคพลังงาน ภาคการป้องกันประเทศ และด้านการโทรคมนาคมภาคเอกชนของประเทศอิสราเอล กลุ่มภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่เชื่อมโยงกับกลุ่มฮามาส มีส่วนเกี่ยวข้องกับการโจมตีทางไซเบอร์ที่เกิดขึ้นหลายครั้ง
ScamTok ระวังภัยมืดบน TikTok ซึ่งเกิดขึ้นใกล้ตัวคุณตลอดเวลาที่ชมคลิป ด้วย TikTok ติดอันดับแอปโซเชียลที่โตไวที่สุดในยุคปัจจุบันนี้ ด้วยผู้ใช้หนึ่งพันล้านคนทั่วโลกในเวลาไม่ถึงทศวรรษ โดยส่วนใหญ่จะใช้เวลาในการดูคลิป TikTok เป็นประจำ อย่างไรก็ตามด้วยความนิยมของคลิป TikTok มาพร้อมกับความเสี่ยงด้านความปลอดภัย มิจฉาชีพก็แอบแฝงอยู่ใน TikTok ด้วย ดำเนินการโจมตีทาง Social Engineering ในรูปแบบต่าง ๆ นั่นคือ TikTok Scam หรือเรียกสั้นๆว่า ScamTok ต่อไปนี้คือวิธีสังเกตและป้องกันภัยหลอกลวงของ TikTok ScamTok ระวังภัยมืดบน TikTok ในรูปแบบ Tiktok Scam รวมรูปแบบภัยหลอกลวง ScamTok หรือ TikTok Scam จากมิจฉาชีพบน TikTok มีดังนี้ 1. ช่องทางรวยสบายรวดเร็วทันใจ พวกมิจฉาชีพใช้ประโยชน์จากวัฒนธรรมอินฟลูเอนเซอร์ที่กำลังเติบโตของ TikTok เพื่อส่งเสริมแผนการช่องทางรวยทันใจ ช่องอาชีพรุ่นใหม่รวยเร็ว โดยสแกมเมอร์ใช้ประโยชน์จากแนวโน้มเพื่อสร้างข้อเสนอทางธุรกิจที่ดูเหมือนจะมีกำไรแต่ไร้จุดหมาย พวกเขามาจากกูรูตัวปลอมที่แนะนำให้ผู้ชมส่งต่อเนื้อหาที่สร้างโดย…
นอกจาก “ภัยโฆษณาเกินจริง” ที่ทาง “ทีมสกู๊ปเดลินิวส์” ได้ชี้ให้เห็น “อันตราย” ไปแล้ว…กับ “ภัยคุกคามทางไซเบอร์” อย่างการ “ขโมยข้อมูล-ต้มตุ๋นออนไลน์” ก็เป็นอีกภัยที่ใกล้ตัวคนไทยมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งเมื่อเร็ว ๆ นี้ ก็มีผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบระบบความปลอดภัยคอมพิวเตอร์ของไทย ออกมาเผยข้อมูลเกี่ยวกับภัยคุกคามทางไซเบอร์ โดยอ้างอิงผลสำรวจของ Identity Theft Resource Center ที่พบว่า…ปี 2565 ทั่วโลกมีการโจมตีด้านข้อมูลส่วนบุคคลมากมาย โดยมีผู้เสียหายที่ถูกขโมยข้อมูลมากถึง 442 ล้านคน!!! ซึ่งแน่นอนว่าในจำนวนนี้ก็ย่อมมี “เหยื่อคนไทย” รวมอยู่ด้วย ตัวเลขนี้ฉายชัด “สถานการณ์ปัญหา” ที่โลกยุคใหม่ต้องเผชิญ “โจรไซเบอร์” อีกหนึ่ง “ภัยคุกคามที่น่ากลัว” ในยุคนี้ “การแฮ็กข้อมูล การถูกเจาะระบบ กำลังเป็นปัญหาใหญ่มากขึ้นเรื่อย ๆ เพราะข้อมูลส่วนบุคคลได้กลายเป็นแหล่งทำเงินของแฮกเกอร์ไปแล้ว โดยแฮ็กเกอร์ที่ขโมยข้อมูลเหล่านี้ไปจะนำไปขายต่อเพื่อหาเงิน หรือแม้แต่สวมรอยแทนตัวตนของคนที่ถูกขโมยข้อมูลเพื่อใช้ประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ ทำให้เรื่องนี้เป็นปัญหาใหญ่ในขณะนี้” …เป็น “อันตราย”…
การโจมตีแบบ USB Drop Attack คืออะไร ? แล้วคุณจะป้องกันได้อย่างไร ? หากคุณเจอ แฟลชไดร์ฟ USB (USB Flash Drive) ที่ตกอยู่ข้างทาง หรือในที่สาธารณะแล้วเก็บมันขึ้นมา คุณจะมีตัวเลือกอยู่ 2 อย่างคือ 1. พยายามหาเจ้าของ หรือ 2. เก็บไว้กับตัวเอง ถูกไหมครับ ? แต่ไม่ว่าจะเลือกอย่างไร โดยทั่วไป คนเราจะต้องมีความอยากรู้อยากเห็น และบางคนก็อาจเลือกที่จะเชื่อมต่อมันเข้ากับคอมพิวเตอร์เพื่อดูว่าข้อมูลในนั้นมีอะไร ซึ่งเราขอแนะนำว่า คุณอย่าทำแบบนั้นเลยจะดีกว่า เพราะไม่แน่คุณอาจกำลังเจอกับ USB Drop Attack ก็เป็นได้ USB Drop Attack คืออะไร ? (What is USB Drop Attack ?) สำหรับ…
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว