องค์กรส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบจากการโจมตีทางไซเบอร์ด้วย AI เนื่องจากการตรวจจับล่าช้า

Loading

รายงานแนวโน้มอาชญากรรมทางไซเบอร์ SoSafe 2025 เปิดเผยว่า 87% ขององค์กรทั่วโลกเผชิญกับการโจมตีที่ขับเคลื่อนด้วย AI ในปีที่ผ่านมา และ 91% ของผู้เชี่ยวชาญคาดว่าภัยคุกคามประเภทนี้จะทวีความรุนแรงขึ้นในอีกสามปีข้างหน้า ขณะที่ข้อมูลจาก World Economic Forum ชี้ว่าการซื้อขายเครื่องมือ Deepfake บน Dark web เพิ่มขึ้นถึง 223% ในช่วงปี 2023-2024 อย่างไรก็ตาม การตรวจจับการโจมตีที่ใช้ AI ยังคงเป็นความท้าทาย

เทรนด์พลังงานนิวเคลียร์ 2025 นวัตกรรมที่จะพลิกโฉมโลก

Loading

  ในปี 2025 ความต้องการแหล่งพลังงานที่สะอาดและยั่งยืน ทำให้ภาคพลังงานนิวเคลียร์กำลังเติบโตและเป็นที่ต้องการอย่างมาก เพราะเป็นพลังงานที่มีเสถียรภาพและปล่อยคาร์บอนต่ำ โดยองค์การพลังงานระหว่างประเทศ (IEA) คาดการณ์ว่า การผลิตพลังงานนิวเคลียร์ทั่วโลกจะเติบโตขึ้นเกือบ 3% ต่อปีจนถึงปี 2026 พลังงานนิวเคลียร์ฟื้นตัวในบางประเทศ เช่น จีนตั้งเป้าที่จะมีความสามารถผลิตพลังงานนิวเคลียร์สูงถึง 100 กิกะวัตต์ (GW) ภายในปี 2025 ขณะที่อินเดียยังคงเพิ่มจำนวนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ โดยให้ความสำคัญกับเทคโนโลยีเครื่องปฏิกรณ์ขนาดเล็ก (SMRs) ในยุโรป หลายประเทศกำลังพิจารณานโยบายยกเลิกการยุติการใช้พลังงานนิวเคลียร์ เช่น ฝรั่งเศส ซึ่งเป็นผู้ผลิตพลังงานนิวเคลียร์อันดับสองของโลกได้ประกาศว่าจะขยายพลังงานนิวเคลียร์ ในขณะที่ เยอรมนี ซึ่งเคยมีแผนที่จะยุติการใช้พลังงานนิวเคลียร์ ก็ได้เลื่อนการยุติออกไปเพื่อรักษาความเสถียรของกริดไฟฟ้าและความมั่นคงด้านพลังงาน ขณะที่ประเทศไทยก็กำลังดำเนินการในภาคพลังงานนิวเคลียร์เช่นกัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์การเปลี่ยนผ่านพลังงานที่กว้างขึ้น โดยโฟกัสไปที่ศักยภาพของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ขนาดเล็ก (SMRs) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้เป็นศูนย์ภายในปี 2065 อย่างไรก็ตาม การพิจารณาด้านกฎระเบียบและความปลอดภัย ความปลอดภัยยังคงเป็นปัจจัยสำคัญ โดยเฉพาะหลังจากเหตุการณ์ ฟุกุชิมะ ในปี 2011 ที่ทำให้ประชาชนรู้สึกไม่เชื่อมั่นต่อพลังงานนิวเคลียร์ยังคงมีอยู่ แต่รัฐบาลหลายๆ ประเทศ ก็ได้ดำเนินการเพื่อให้มั่นใจว่ามีมาตรฐานด้านความปลอดภัยที่ดี ผลิตพลังงานนิวเคลียร์เพิ่ม 3 เท่า แรงผลักดันที่สำคัญ คือ…

WEF ชี้ ‘3 ความเสี่ยงที่สุดปีนี้’ ความขัดแย้ง, อากาศสุดขั้ว และข้อมูลเท็จ

Loading

โลกกำลังเผชิญหน้ากับวิกฤติซ้อนวิกฤติ! รายงานความเสี่ยงโลกประจำปี 2025 ของ WEF ชี้ให้เห็นว่า ความขัดแย้ง, สภาพอากาศสุดขั้ว และข้อมูลเท็จ กำลังคุกคามความมั่นคงของโลกอย่างหนัก ซึ่งนายกรัฐมนตรีไทยจะเข้าร่วมการประชุมในดาวอส 20-25 ม.ค. 2025 นี้

การเพิ่มขึ้นของความเสี่ยงจากการฉ้อโกงข้อมูลไบโอเมตริกซ์ และผลกระทบต่อสถาบันการเงิน

Loading

  การบริหารความเสี่ยงทางไซเบอร์ต้องเน้นการตรวจสอบความปลอดภัยของผู้ให้บริการบุคคลที่สามอย่างเคร่งครัด ควรประเมินการตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบไบโอเมตริกซ์ตามมาตรฐาน ISO 27001, NIST และการรับรอง SOC 2 Type 2 การใช้เครื่องมือตรวจสอบช่วยในการติดตามกิจกรรมของผู้ให้บริการอย่างต่อเนื่องและตั้งค่าการควบคุมการเข้าถึงข้อมูลอย่างเข้มงวดจะช่วยลดความเสี่ยงในการละเมิดข้อมูล   จากการคาดการณ์ของ Deloitte Center for Financial Services ภายในปี 2570 การฉ้อโกงข้อมูลไบโอเมตริกซ์สังเคราะห์จะก่อให้เกิดความสูญเสียมากกว่า 40 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เทคโนโลยีอย่าง Deepfake ถูกนำมาใช้เพื่อสร้างข้อมูลไบโอเมตริกซ์สังเคราะห์ที่มีความสมจริงและน่าเชื่อถือมากขึ้น โดยใช้ข้อมูลส่วนบุคคลที่ถูกขโมยจากเว็บมืดหรือสร้างขึ้นใหม่ การพัฒนาของ Generative AI ยังเพิ่มความเสี่ยงจาก Deepfake ให้รุนแรงขึ้น รายงานของ World Economic Forum (WEF) ในปี 2566 ระบุว่าเหตุการณ์ Deepfake ที่เกี่ยวข้องกับฟินเทคเพิ่มขึ้น 700% เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า และคาดว่าในปี 2569 เนื้อหาออนไลน์มากถึง 90% อาจถูกสร้างขึ้นด้วยเทคโนโลยีสังเคราะห์   ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก รวมถึงประเทศไทย การจัดการกับการฉ้อโกงข้อมูลไบโอเมตริกซ์กลายเป็นประเด็นเร่งด่วน…

ปัญญาประดิษฐ์ AI กับสิ่งที่คนไทยต้องรับมือ

Loading

ในที่สุด iPhone 16 ก็เปิดตัวอย่างเป็นทางการ ถึงแม้จะมีกระแสต่อต้าน Apple จากคนไทยเมื่อช่วงเดือนที่แล้ว แต่ก็ไม่ใช่ปัญหาใหญ่เกินแก้ของ Apple เพราะการใส่เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) เข้าไปทั้งใน Siri เวอร์ชั่นใหม่ ที่ฉลาดกว่าเดิม

ข้อมูลเท็จที่สร้างโดย AI กลายเป็นปัญหาระดับโลก

Loading

“การเผยแพร่ข้อมูลผิดๆ และเฟคนิวส์ โดย AI กำลังกลายเป็นเรื่องธรรมดามากขึ้น” นี่คือคำให้สัมภาษณ์ของ “บิล เกตส์” ผู้ก่อตั้ง “ไมโครซอฟท์” บริษัทเทคโนโลยียักษ์ใหญ่ของโลกที่ให้ไว้กับรายการ CNBC Make