แพลตฟอร์มใหม่ ป้องกัน Windows ล่ม ซ้ำรอยเหตุการณ์ CrowdStrike
เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์ CrowdStrike ที่ทำให้ Windows ล่มอีก ไมโครซอฟท์กำลังพัฒนาแพลตฟอร์มใหม่ภายใน Windows เพื่อควบคุมการทำงานของโปรแกรมแอนตี้ไวรัสโดยเฉพาะ
เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์ CrowdStrike ที่ทำให้ Windows ล่มอีก ไมโครซอฟท์กำลังพัฒนาแพลตฟอร์มใหม่ภายใน Windows เพื่อควบคุมการทำงานของโปรแกรมแอนตี้ไวรัสโดยเฉพาะ
กระทรวงดีอี โดย ดีป้า เปิดตัว HelpT น้ำท่วม ช่วยด้วย! ช่องทางสนับสนุนการสื่อสารระหว่างประชาชนกับหน่วยงานท้องถิ่น สามารถรับแจ้งเหตุฉุกเฉินที่เกิดจากสถานการณ์น้ำท่วมในพื้นที่ต่างๆ
เป็นที่ทราบกันดีว่าสถานการณ์ ‘โจรล้วงกระเป๋า’ ยังคงเป็นปัญหาใหญ่ที่ส่งผลกระทบอย่างยิ่งต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยวในยุโรป ทำให้ที่ผ่านมามีหลายภาคส่วนพยายามทำการศึกษาปัญหาดังกล่าวเพื่อนำไปสู่การแก้ไขและป้องกันการโจรกรรมในหมู่นักท่องเที่ยว (แม้จะมีเสียงบ่นว่าตำรวจไม่เอาจริงเอาจังกับเรื่องนี้สักทีก็ตาม) ล่าสุดเมื่อช่วงต้นปีที่ผ่านมา บริษัท ‘Quotezone’ บริษัทประกันภัยสัญชาติอังกฤษก็ได้ทำการรวบรวม-วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับอัตราการล้วงกระเป๋าในประเทศต่างๆ จนออกมาเป็น ‘European Pickpocketing Index’ หรือ ที่ระบุว่า ประเทศใดบ้าง 10 ลำดับที่มีอัตราการล้วงกระเป๋ามากที่สุดในยุโรป แน่นอนว่าประเทศที่มาเป็นอันดับ 1 ในดัชนีนี้ก็หนีไม่พ้น ‘อิตาลี’ ประเทศที่ขึ้นชื่อเรื่องโจรชุกชุมตลอดกาล โดยมีอัตราล้วงกระเป๋าพุ่งไปที่ 478 ครั้งต่อนักท่องเที่ยว 1 ล้านคน เพิ่มขึ้นเป็น 3 เปอร์เซ็นต์ จากปีที่ผ่านมา และจุดที่มีการล้วงกระเป๋ามากที่สุดนั้น ก็คือบริเวณน้ำพุเทรวี (Trevi Fountain) ในกรุงโรม ที่มีจำนวนนักท่องเที่ยวหนาแน่นกว่า 18,000 คนต่อชั่วโมง ทำให้พื้นที่นี้มีง่ายต่อการก่อเหตุ ส่วนสถานที่มีการล้วงกระเป๋ารองลงมาในโรม ได้แก่ โคลอสเซียม และวิหารแพนธีออน ตามลำดับ และไม่เพียงแค่โรม ดัชนียังระบุว่า สถานที่ท่องเที่ยวในเมืองอื่นๆ ของอิตาลียังตกเป็นเป้าของการก่อเหตุ มหาวิหารดูโอโมในมิลาน และหอศิลป์อุฟฟิซีในเมื่องฟลอเรนซ์…
เมื่อวันที่ 19 มีนาคม รายงานข่าวจากสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (สคส.) หรือ PDPC ระบุว่า PDPC เรียกกระทรวงสาธารณสุขเข้าชี้แจงด่วน กรณีแฮกเกอร์ประกาศขายข้อมูลหน่วยงานสาธารณสุข 2.2 ล้านรายชื่อ โดย PDPC ได้ให้ศูนย์เฝ้าระวังการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล (PDPC Eagle Eye) หรือสำนักตรวจสอบและกำกับดูแล ร่วมกับกองบัญชาการตำรวจสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (บช.สอท.) และสำนักงานคณะกรรมการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (สกมช.)
Data คืออะไร ย้อนกลับไป 3-4 ปีก่อนหน้านี้ Data ยังเป็นเรื่องใหม่ในโลกสินค้าและบริการ หลากหลายแบรนด์ตื่นตาตื่นใจกับการใช้ Data มาเป็นส่วนหนึ่งในการแก้โจทย์ Marketing วันนี้เราจะมาทำความรู้จักข้อมูลเหล่านี้กัน Data “กลายเป็นเรื่องของทุกคน” นักการตลาดและแบรนด์เข้าใจมากขึ้นว่าอะไรเป็นเพียง Buzz Word และอะไรที่จำเป็นจริงๆ ไม่ว่าแบรนด์เล็กหรือใหญ่ เมื่อผู้บริโภคอยากได้ แต่ไม่ยอมให้ แบรนด์ทำอะไรต่อดี? เมื่อ Data มาความเป็นส่วนตัวก็ตามมาติด ๆ เมื่อใคร ๆ ก็อยากมี Data ในครอบครองจึงไม่แปลกที่ผู้ใช้จะกังวลเรื่องข้อมูลส่วนตัวและต้องการความเป็นส่วนตัวมากขึ้น แต่อีกทางผู้บริโภคต่างก็ตามหาแบรนด์ที่มอบประสบการณ์และความเข้าถึงได้เกี่ยวกับสินค้าและบริการเฉพาะบุคคลให้พวกเขาได้เช่นกัน นึกภาพการเข้าใช้บริการโรงแรมที่มีเค้กวางรออยู่แล้ว เพราะรู้ว่านี่คือวันเกิดเราพอดี หรือโปรโมชันพิเศษเที่เสนอให้แค่เราเมื่อรู้ว่าเราชอบลาพักร้อนในช่วงกลางปีเป็นประจำ ซึ่งประสบการณ์เฉพาะเหล่านี้เริ่มที่การอนุญาตให้แบรนด์นำ Data ไปใช้ โดยจุดสมดุลเป็นสิ่งที่ทั้งแบรนด์ ผู้บริโภค และความเข้าใจเรื่อง Data ต้องทำร่วมกัน ผู้บริโภคส่วนใหญ่คิดว่าแบรนด์เอา Data ไปแล้วรุกล้ำความเป็นส่วนตัว หรือรู้สึกว่าไม่อนุญาตให้มีการเก็บข้อมูลแปลว่าจะไม่มีโฆษณากวนใจซึ่งเป็นความเชื่อที่ไม่ถูกเสียทีเดียว เนื่องจากโฆษณาออนไลน์เป็นสิ่งที่เราเลี่ยงไม่ได้…
สำนักด้านความมั่นคงแห่งชาติของสหรัฐฯ หรือ NSA เปิดเผยรายงานการเก็บรวบรวมข้อมูลการพูดคุยทางโทรศัพท์ของคนอเมริกันมากกว่า 500 ล้านครั้ง เมื่อปีที่แล้ว ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี ค.ศ. 2016 กว่า 3 เท่า รายงานของ NSA ระบุว่า ปีที่ผ่านมาได้มีการรวบรวมข้อมูลการพูดคุยโทรศัพท์ของคนอเมริกันทั้งหมด 534 ล้านครั้ง เพิ่มจากจำนวน 151 ล้านครั้ง เมื่อ 2 ปีก่อน อย่างไรก็ตาม ไม่มีการระบุว่าทำไมตัวเลขดังกล่าวจึงเพิ่มขึ้นอย่างน่าตกใจในปี ค.ศ. 2017 สองปีที่ผ่านมาคือสองปีแรกของการใช้ระบบใหม่ในการเก็บรวบรวมข้อมูลการพูดคุยสื่อสารของคนอเมริกัน ตามกฎหมายที่ผ่านการรับรองของรัฐสภาสหรัฐฯ เมื่อปี ค.ศ. 2015 ซึ่งจำกัดการรวบรวมข้อมูลปริมาณมาก หลังจากที่นายเอ็ดเวิร์ด สโนว์เด้น อดีตลูกจ้างชั่วคราวของ NSA เปิดเผยเรื่องการเก็บรวบรวมข้อมูลการใช้โทรศัพท์ของคนอเมริกันให้สาธารณชนรับรู้ รายงานของ NSA ระบุว่า ข้อมูลที่ NSA เก็บรวบรวมนั้น รวมถึง หมายเลขโทรศัพท์ และระยะเวลาที่คุย แต่ไม่รวมเนื้อหาในบทสนมนาที่คุยกันแต่อย่างใด ———————————————————————————————————————————————— ที่มา :…
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว