บริษัทน้ำที่ใหญ่ที่สุดในอเมริกาถูกโจมตีทางไซเบอร์
ในแถลงการณ์ อเมริกัน วอเตอร์ ระบุว่าตรวจพบ “กิจกรรมที่ไม่ได้รับอนุญาต” ในเครือข่ายและระบบคอมพิวเตอร์ของบริษัทเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม และพิจารณาว่าเป็น “ผลลัพธ์ของเหตุการณ์ความปลอดภัยทางไซเบอร์”
ในแถลงการณ์ อเมริกัน วอเตอร์ ระบุว่าตรวจพบ “กิจกรรมที่ไม่ได้รับอนุญาต” ในเครือข่ายและระบบคอมพิวเตอร์ของบริษัทเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม และพิจารณาว่าเป็น “ผลลัพธ์ของเหตุการณ์ความปลอดภัยทางไซเบอร์”
วันนี้ (28 มิถุนายน 2567) นายประเสริฐ จันทรรวงทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม หรือ ดีอี และนายวิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ เรื่อง “การสนับสนุนบริการระบบคลาวด์กลางภาครัฐ” (Government Data Center and Cloud Service : GDCC) ร่วมกับสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร โดยมีนายปดิพัทธ์ สันติภาดา รองประธานสภาผู้แทนราษฎร และว่าที่ร้อยตำรวจตรีอาพัทธ์ สุขะนันท์ เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ลงนาม พร้อมด้วยนายภุชพงค์ โนดไธสง เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หรือ สดช.
ศูนย์ข้อมูลแห่งชาติของอินโดนีเซียถูก Ransomware เล่นงาน จนไฟล์ข้อมูลสำคัญมากมายโดนล็อครหัส ทว่าภายหลังกลุ่มแฮ็กเกอร์ได้ส่งคีย์ถอดรหัสมาให้
การโจมตีทางไซเบอร์ที่เกิดขึ้นเมื่อเร็ว ๆ นี้ในอินโดนีเซียซึ่งส่งผลกระทบอย่างมากต่อระบบข้อมูลระดับชาตินั้น ได้กระตุ้นให้อินโดนีเซียเพิ่มความยืดหยุ่นทางไซเบอร์ และประเมินนโยบายเทคโนโลยีดิจิทัล
ไมโครซอฟท์ ร่วมกับ LinkedIn เจาะลึกพฤติกรรมการใช้ AI คนทำงาน ผ่านรายงาน Work Trend Index ฉบับปี 2024 ในประเทศไทยและทั่วโลก ในการนำนวัตกรรม AI มาใช้ในที่ทำงาน
การศึกษาล่าสุดโดย “แคสเปอร์สกี้” เผย ธุรกิจที่มีสาขาอยู่ทั่วโลกกว่า 62% พบว่า องค์กรมีช่องโหว่ จากความแตกต่างกันในระดับความแข็งแรงของการป้องกันทางไซเบอร์ บริษัท 48% ยอมรับว่ามีปัญหานี้ แต่ไม่ได้มองว่าเป็นเรื่องวิกฤติ บริษัท 14% ระบุว่า สาขาของตนนั้นต้องการมาตรการด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์เพิ่มเติม ผู้เชี่ยวชาญของแคสเปอร์สกี้เตือนธุรกิจที่มีหลายสาขาว่า ความแตกต่างกันดังกล่าวอาจส่งผลต่อความปลอดภัยขององค์กรทั้งหมด 62% ยอมรับว่า ‘มีช่องโหว่’ แคสเปอร์สกี้เผยถึงข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับปัญหาด้านความปลอดภัยของเครือข่ายและข้อมูลที่บริษัทเหล่านี้ต้องเผชิญโดยระบุว่า มีบริษัทที่ตอบแบบสอบถามเพียง 38% เท่านั้น ที่มั่นใจว่าระบบป้องกันภัยคุกคามทางไซเบอร์ของบริษัทสาขามีประสิทธิภาพเท่ากับในสำนักงานใหญ่ ขณะที่ บริษัท 62% ยอมรับว่ามีช่องโหว่ด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ระหว่างสำนักงานใหญ่กับสาขา โดยแบ่งเป็นบริษัท 48% เห็นว่ามีปัญหาแต่ไม่ได้รุนแรง บริษัทเหล่านี้เชื่อว่าสาขาส่วนใหญ่ได้รับการป้องกันที่ดี บริษัท 13% มองว่าปัญหานี้ค่อนข้างน่าเป็นห่วง โดยคิดว่ามีเพียงไม่กี่สาขาที่ได้รับการป้องกันอย่างเพียงพอ บริษัท 1% ระบุว่า ไม่มีสาขาใดเลยที่ได้รับการรักษาความปลอดภัยอย่างแท้จริง นอกเหนือจากข้อจำกัดด้านงบประมาณ เหตุผลประการหนึ่งที่ทำให้การป้องกันไซเบอร์มีความเหลื่อมล้ำ คือการขาดความเชื่อมั่นในความเชี่ยวชาญของพนักงานประจำสาขา รายงานพบว่าบริษัท 37%…
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว