กลุ่มแฮ็กเกอร์อ้างล้วงข้อมูลลูกค้าของบริษัทประมูล “คริสตีส์”
กลุ่มแฮ็กเกอร์ที่มีชื่อว่าแรนซัมฮับ (RansomHub) ออกมาอ้างว่าเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการโจมตีทางไซเบอร์บริษัทจัดประมูลคริสตีส์ (Christie’s) เมื่อต้นเดือนนี้
กลุ่มแฮ็กเกอร์ที่มีชื่อว่าแรนซัมฮับ (RansomHub) ออกมาอ้างว่าเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการโจมตีทางไซเบอร์บริษัทจัดประมูลคริสตีส์ (Christie’s) เมื่อต้นเดือนนี้
รายงานภัยคุกคามของ Sophos 2024 พบภัยไซเบอร์ป่วน SMB มุ่งขโมยข้อมูล ระบุ “มัลแวร์ที่ขโมยข้อมูลและข้อมูลส่วนบุคคล” เป็นภัยคุกคาม 2 อันดับแรกต่อธุรกิจ SMB ในปี 2023 ซึ่งคิดเป็นเกือบ 50% ของมัลแวร์ทั้งหมดที่ Sophos ตรวจพบในกลุ่มนี้
ในปีที่ผ่านมา มีเหตุการณ์ที่ถูกกลุ่มแฮ็กเกอร์ดัง ที่ชื่อ ล็อคบิท และกลุ่มอื่น ๆ ทำการแฮ็กระบบของหน่วยงานรัฐ และเอกชน ในประเทศไทยประมาณ 30 ครั้ง โดยทาง สกมช. ได้เฝ้าติดตามในดาร์กเว็บ โดย กลุ่ม ล็อคบิท นี้ ได้มีการเรียกค่าไถ่หน่วยงานในไทยมีมูลค่าประมาณ 1,000 ล้านบาท
กสทช. จับมือ สคส. กำกับดูแลข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับโทรคมนาคม กำหนดแนวปฏิบัติ คำสั่งคุ้มครอง ให้สอดคล้องกันเพื่อระงับการรั่วไหลของข้อมูล ขณะที่ สคส. เน้นเข้มมาตรการตรวจสอบบริษัทฯ และองค์กรที่มีฐานข้อมูลส่วนบุคคล ป้องกันการลักลอบขายข้อมูลให้มิจฉาชีพกรณีการบุกจับโบรกเกอร์ของบริษัทประกันภัยแห่งหนึ่ง ที่ลักลอบขายข้อมูลลูกค้ามากกว่า 1,000,000 รายชื่อ ให้กับกลุ่มมิจฉาชีพ แก๊งคอลเซ็นเตอร์ และเว็บพนันออนไลน์ สร้างความเสียหายให้กับประชาชนจำนวนมาก
ทุกวันนี้ภัยไซเบอร์มีหลากหลายรูปแบบจนในบางครั้งเราก็อาจตามไม่ทันและสุดท้ายต้องตกเป็นเหยื่อของการคุกคามในที่สุด เหล่าบรรดาแฮกเกอร์มุ่งพัฒนาเครื่องมือต่าง ๆ ขึ้นเพื่อใช้เปิดโจมตี ซึ่งในวันนี้ผมจะขอนำเสนอ AI ตัวใหม่ที่มีชื่อว่า “FraudGPT” ซึ่งมีการเผยแพร่อย่างแพร่หลายในตลาด Dark Web และช่องทาง Telegram ในช่วงปลายเดือนที่ผ่านมา ผู้เชี่ยวชาญต่างพากันลงความเห็นว่า FraudGPT เป็นเครื่องมือที่ควรจะต้องเฝ้าระวังอีกตัวหนึ่งเลยทีเดียว จากข้อมูลพบว่ามีการออกโปรโมตเกี่ยวกับ FraudGPT ว่าเป็นโซลูชันที่ครบวงจร สามารถตอบโจทย์ความต้องการของอาชญากรทางไซเบอร์ได้เป็นอย่างดี เพราะเครื่องมือจะประกอบไปด้วยฟีเจอร์พิเศษต่าง ๆ ที่สามารถสร้างอีเมล spear-phishing การรวมมัลแวร์ที่หลีกเลี่ยงการตรวจจับ การสร้างหน้าฟิชชิง การแจ้งเตือนเว็บไซต์ที่มีช่องโหว่ และการสอนเทคนิคแฮ็กต่าง ๆ โดย Generative AI Tool นี้เองที่ช่วยให้แฮ็กเกอร์มีฟังก์ชันการทำงานได้เหมือนกับผู้เชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยีซึ่งนั่นก็คือ ความสามารถในการทำงานด้วยความเร็วและขนาดที่เพิ่มมากขึ้น แน่นอนว่า เหล่าแฮ็กเกอร์สามารถสร้างแคมเปญฟิชชิงได้อย่างรวดเร็วและเปิดตัวใช้งานได้พร้อมกันมากขึ้น และจุดนี้เองที่ทำให้ทีมผู้เชี่ยวชาญด้านภัยคุกคามตัดสินใจเฝ้าติดตามกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นของ FraudGPT รวมถึงแฮ็กเกอร์ที่อยู่เบื้องหลังอย่างใกล้ชิด เพราะก่อนหน้านี้แฮ็กเกอร์เคยเป็นผู้ค้าในตลาด Dark Web หลายแห่งเลยก็ว่าได้ นอกจากนี้ แฮ็กเกอร์ยังปรับใช้วิธีการเคลื่อนไหวเชิงกลยุทธ์เพื่อหลบหลีกกลโกงต่าง…
Guardz Cyber Intelligence Research (CIR) ขอให้ ChatGPT หามัลแวร์ของ Mac จนเจอเครื่องมือแฮ็กใหม่ที่ขายอยู่บนเว็บไซต์ภาษารัสเซียในดาร์กเว็บ วิธีการก็แค่ป้อนคำขอไปยัง ChatGPT ให้หาช่องโหว่ของระบบปฏิบัติการ MacOS ที่อยู่ในดาร์กเว็บ การค้นพบนี้ทำให้ผู้เชี่ยวชาญของ Guardz เข้าไปยังดาร์กเว็บเพื่อค้นหาช่องโหว่ที่ว่านี้ ซึ่งก็พบว่ามีการขายเครื่องมือ HNVC ที่ใช้ช่องโหว่บนแอป HNVC ในการควบคุมคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นจากระยะไกล บนเว็บไซต์ที่ชื่อว่า Exploit เครื่องมือจะเปิดทางให้สามารถเข้าควบคุมเครื่อง Mac ของเหยื่อโดยที่เหยื่อไม่รู้ตัวเลยแม้แต่น้อย ส่วนราคาของ HNVC อยู่ที่ราว 60,000 เหรียญ (ราว 2 ล้านบาท) เป็นการซื้อขาด แต่หากต้องการให้มีความสามารถเพิ่มก็จ่ายเพิ่มอีก 20,000 เหรียญ (ราว 690,510 บาท) ที่มา appleinsider …
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว