“สคส.”รอรับรายงานเพิ่มจากห้างฯดัง เหตุแฮ็กเกอร์โพสต์ข้อมูลหลุด 5 ล้านรายชื่อ

Loading

เมื่อวันที่ 27 พ.ย. แหล่งข่าวจาก สำนักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (สกมช.) กล่าวถึงเหตุการณ์แฮกเกอร์โพสต์อ้างขายข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้าห้างสรรพสินค้าใหญ่แห่งหนึ่งของไทย จำนวน 5 ล้านรายชื่อ นั้น ทางห้างฯ ไม่ต้องการความช่วยเหลือจากหน่วยงานรัฐ โดยยืนยันจะแก้ปัญหาด้วยตนเอง ซึ่งทาง สกมช. ยังไม่สามารถเข้าไปดำเนินการอะไรได้ เนื่องจากไม่ได้เป็นหน่วยงานที่เกี่ยวกับระบบโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ ต่างจากกรณีของร้านกาแฟดัง ที่ให้ทาง สกมช. เข้าไปช่วยดูแลแนะนำการแก้ปัญหา ซึ่งกรณีหัางฯ คงต้องไปดูในเรื่อง พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล หรือ พีดีพีเอ แทน ว่าได้ดำเนินการตามกฎหมายหรือไม่

CrowdStrike หน้าที่และความรับผิดตาม PDPA เป็นของใคร

Loading

พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 หรือ PDPA กำหนดหน้าที่ขององค์กรที่อาจเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ CrowdStrike ไว้ดังนี้

การลบหรือทำลายข้อมูลส่วนบุคคลและการพัฒนา AI

Loading

พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 หรือ PDPA มาตรา 37 (3) กำหนดให้องค์กรมีหน้าที่จัดให้มีระบบการตรวจสอบ เพื่อดำเนินการลบ หรือทำลายข้อมูลส่วนบุคคลเมื่อพ้นกำหนดระยะเวลาการเก็บรักษา

รัฐบาลดิจิทัล (7) : ธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ

Loading

ลองสมมติว่าตัวเองเป็นรัฐมนตรีของสักกระทรวงหนึ่ง วันแรกที่เข้าไปทำงาน อาจจะได้รายงานต่างๆ มาดูบ้าง แต่ถ้าอยากได้ข้อมูลเพิ่มเติม ก็ต้องไปรวบรวมมาจากกรมกองต่างๆ กว่าจะได้ข้อมูลมาใช้ในการตัดสินใจ

รัฐบาลดิจิทัล (4): ‘ทางรัฐ’ ทาง ‘ลัด’ สู่บริการภาครัฐ

Loading

เป้าหมายของรัฐบาลดิจิทัล คือการทำให้ประชาชนเข้าถึงบริการภาครัฐได้ทุกบริการผ่านทางออนไลน์ สิ่งที่ยุ่งยากตามมาคือ จะค้นหาบริการที่อยู่อย่างกระจัดกระจายตามหน่วยงานต่างๆ ได้อย่างไร ประเทศที่เป็นผู้นำด้านรัฐบาลดิจิทัลจึงจัดทำเว็บหรือแอปที่ทำหน้าที่เป็นพอร์ทัลกลาง เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการของรัฐได้สะดวก

การสอน AI ด้วยข้อมูลส่วนบุคคล (โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย)

Loading

วิธีการหนึ่งซึ่งนิยมแพร่หลาย คือ web scraping ซึ่งเป็นวิธีการคัดลอกหรือดูดข้อมูลจากหน้าเว็บไซต์ที่เปิดเผยต่อสาธารณะ เช่น พฤติกรรม ข้อความ รูปภาพ ข้อมูลติดต่อและอื่น ๆ ตามรูปแบบที่กำหนดเพื่อนำข้อมูลไปวิเคราะห์ตามจุดประสงค์ต่าง ๆ