แฮ็กเกอร์ใช้ ‘URL Protection’ ซ่อนลิงก์ฟิชชิง
การโจมตีของแฮ็กเกอร์นั้นนับวันก็จะยิ่งก้าวล้ำและมีความแปลกใหม่มากขึ้นเรื่อยๆ เพราะหากโจมตีสำเร็จผลตอบแทนที่แฮ็กเกอร์ได้รับจะมีมูลค่าสูงซึ่งถือว่ามีความคุ่มค่าและน่าดึงดูดใจเป็นอย่างมาก
การโจมตีของแฮ็กเกอร์นั้นนับวันก็จะยิ่งก้าวล้ำและมีความแปลกใหม่มากขึ้นเรื่อยๆ เพราะหากโจมตีสำเร็จผลตอบแทนที่แฮ็กเกอร์ได้รับจะมีมูลค่าสูงซึ่งถือว่ามีความคุ่มค่าและน่าดึงดูดใจเป็นอย่างมาก
Bluebik Titans บริษัทย่อยของ Bluebik Group ผู้ให้บริการด้านความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์แบบครบวงจร เผยข้อมูลเกี่ยวกับความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการโจมตีทางไซเบอร์ต่อองค์กรต่างๆ ทั่วโลก พบว่า อัตราการภัยคุกคามส่วนใหญ่มาจากภายนอกองค์กร ซึ่งลดลงจากกปี 2023 ในขณะที่ภัยคุกคามจากภายในองค์กรกลับเพิ่มขึ้นถึง 20% จากปีก่อนหน้า ซึ่งส่วนใหญ่ 90% ทำการโจมตีองค์กรเพราะความต้องการทางการเงิน ซึ่งภัยคุกคามเหล่านี้ มีทั้งที่ตั้งใจโจมตี ขโมย ปล่อยข้อมูล และที่ไม่ตั้งใจให้เกิดการคุกคามทางไซเบอร์
ปัจจุบันหลายคนได้หันมาทำการค้ากับจีนมากกว่าแต่ก่อน มากกว่าที่จะจุกตัวอยู่แค่กับบริษัทนำเข้า หรือบรรษัทขนาดยักษ์ที่มีการนำเข้าและจ้างผลิตในจีน โดยผู้ที่ทำธุรกิจกับจีนเริ่มกระจายไปยัง SME รายย่อย ไปจนถึงพ่อค้าแม่ค้าออนไลน์ นั่นทำให้หลายรายต้องมีการติดต่อกับบริษัททางจีนเป็นประจำ แต่ด้วยภัยไซเบอร์ต่อไปนี้ที่เล็งโจมตีบริษัทในจีน รวมไปถึงธุรกิจต่าง ๆ ที่ใช้ภาษาจีน ผู้ที่ทำธุรกิจอาจจะต้องมีความระมัดระวังตัวมากยิ่งขึ้น
การมาของ เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยยกระดับการทำงานในหลายส่วน ยังสามารถนำมาช่วยยกระดับความปลออดภัยทางไซเบอร์ซีเคียวริตี้ได้ด้วย
SHORT CUT • เลขา สกมช. ตั้งข้อสงสัย ทำไมแพลตฟอร์มโซเชียล ยอมให้โฆษณาหลอกลวงผ่านการตรวจสอบทั้งที่ในต่างประเทศแพลตฟอร์มเดียวกันกลับมีกฎเกณฑ์ที่ดีกว่า • ออสเตรเลียเคยฟ้องร้องเป็นตัวอย่างแล้ว ทั้งจากภาครัฐและคนดังที่ถูกแอบอ้าง • ต่างประเทศมองว่าการที่แพลตฟอร์มสื่อสังคมออนไลน์อนุญาตให้โฆษณาหลอกลวงผ่านการตรวจสอบ เท่ากับว่า แพลตฟอร์มมีส่วนรู้เห็นมาหลอกประชาชน เลขา สกมช. ตั้งข้อสังเกตุ การหลอกลวงผ่านโซเชียล ทั้งเพจปลอมและการหลอกลงทุน ทำไมแพลตฟอร์มไม่ช่วยป้องกันก่อนเกิดเหตุ ? พลอากาศตรี อมร ชมเชย เลขาธิการคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (สกมช.) ตั้งข้อสังเกตุกับผู้สื่อข่าวหลังการแถลงข่าวการลงนามในบันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ ยกระดับการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางไซเบอร์ และให้ความรู้แก่ประชาชนไม่ให้ตกเป็นเหยื่อภัยออนไลน์ ระหว่าง สกมช. และ สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (สำนักงาน กสทช.) ถึงกรณีการป้องกันและปราบปรามภัยไซเบอร์จากการหลอกลวงกันทางโซเชียลมีเดีย พลอากาศตรี อมร ตั้งข้อสังเกตุว่า การป้องกันและปรายปรามการหลอกลวงปัจจุบันทำได้ช้า ใช้เวลาเกือบ 2 สัปดาห์ในการดำเนินการจากฝั่งแพลตฟอร์ม ซึ่งการหลอกลวงเหล่านี้ ทั้งการโฆษณาหลอกลงทุนผ่านสื่อสังคมออนไลน์โดยการใช้รูปคนดัง , การตั้งเพจปลอมที่มีชื่อเหมือนหน่วยงานราชการ เช่น…
นายพชร นริพทะพันธุ์ ที่ปรึกษาประจำนพ.สรณ บุญใบชัยพฤกษ์ ประธานกรรมการ กิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กสทช. เปิดเผยในเวทีสัมมนางาน Next Step Thailand 2024: Tech & Sustain ก้าวต่อไปของนวัตกรรมและความยั่งยืน ณ ห้องพญาไท 3-4 ชั้น 6 โรงแรมอีสติน แกรนด์ พญาไท กรุงเทพฯ ว่า ปัจจุบัน ประเทศไทยยังมีช่องว่างของ ความปลอดภัยทางไซเบอร์ ทั้งทางด้านเทคโนโลยี และบุคคลากร ภัยคุกคามทางไซเบอร์ ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว