ปีใหม่แล้ว ชวนคนไทยมาตั้ง Password ใหม่ ป้องกันการถูกแฮ็กโดยไม่รู้ตัว

Loading

ปีที่ผ่านมา จากข้อมูลของตำรวจไซเบอร์ พบว่า ตั้งแต่ 1 มี.ค. 2565 ถึง 20 ธ.ค. 2566 พบ มูลค่าความเสียหายที่เกิดขึ้นจากภัยไซเบอร์รวมมากกว่า 5 หมื่นล้านบาท และมีข้อมูลรั่วไหล ซึ่งหนึ่งในนั้นอาจเป็นข้อมูลผ่านของเรา โดยเฉพาะคนที่ใช้รหัสผ่านเป็นข้อมูลส่วนบุคคล เช่น เบอร์โทรศัพท์ รหัสบัตรประชาชน เบอร์แฟน หรือเบอร์บ้าน ซึ่งทั้งหมดล้วนเป็นข้อมูลที่คนร้ายอาจรวบรวมและนำมาแฮ็กข้อมูลเราได้ และคนที่ใช้รหัสผ่านเดียว เที่ยวทั่วโลก

5 คดีแก๊งคอลเซ็นเตอร์ประจำปี 66 อาชญากรรมไซเบอร์ดูดเงินคนไทยกว่า 4 หมื่นล้าน

Loading

  5 คดีแก๊งคอลเซ็นเตอร์ประจำปี 2566 อาชญากรรมไซเบอร์ที่ดูดเงินคนไทยกว่า 4 หมื่นล้านบาทต่อปี   ต้องยอมรับว่า ‘มิจฉาชีพ’ มีหลากหลายรูปแบบและสามารถเข้าถึงตัวเราได้ในหลายช่องทาง ยิ่งในยุคนี้ที่การสื่อสารเปิดกว้าง แทบจะทุกคนมีโทรศัพท์เป็นของตัวเอง ในส่วนของข้อดีโทรศัพท์ได้ช่วยทำให้การติดต่อระหว่างกันเป็นไปได้สะดวกง่ายขึ้น แต่ส่วนภัยร้ายที่แฝงมาก็อาจทำให้เกิดความสูญเสียจนถึงชีวิตได้เช่นกัน   ก่อนจะพูดถึง 5 คดีความเสียหายหายที่เกิดจาก ‘แก๊งคอลเซ็นเตอร์’ ทีมข่าว TNN Online ได้สรุปตัวเลขเหตุอาชญากรรมทางเทคโนโลยีมาให้พิจารณา ซึ่งในระยะเวลาเพียง 1 ปีเท่านั้น คนไทยต้องสูญเสียทรัพย์สินให้กับการหลอกลวงรูปแบบนี้ไม่ต่ำกว่า 4.5 หมื่นล้านบาท   อ้างอิงสถิติแจ้งความออนไลน์จากเว็บไซต์ www.thaipoliceonline.com ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 – 30 กันยายน 2566 มีจำนวน 365,547 เรื่อง   แบ่งเป็นคดีออนไลน์ จำนวน 336,896 เรื่อง รวมมูลค่าความเสียหาย 45,738,507,864 บาท ตำรวจติดตามอายัดบัญชีได้ 167,347 บัญชี…

เผย 14 ประเภทคดีหลอกลวงออนไลน์ ที่คนไทยเป็นเหยื่อมากสุด!

Loading

AIS ร่วมกับกองบัญชาการตำรวจสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมทางเทคโนโลยี หรือ “ตำรวจไซเบอร์” ร่วมเปิดโปง 12 คดีดังที่เป็นภัยไซเบอร์ ผ่านละครคุณธรรม 12 เรื่อง โดยงานนี้ ได้รับเกียรติจาก พล.ต.ต.อรรถสิทธิ์ สุดสงวน รองผู้บัญชาการฯ รักษาราชการแทน รองผู้บัญชาการตำรวจสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมทางเทคโนโลยี ให้มาเผยรายละเอียด คดีออนไลน์ที่คนไทย โดนมากที่สุด ถึง 14 ประเภทด้วยกัน

ตำรวจไซเบอร์ เตือน ใครชอบดูหนังฟรีผ่านเว็บเถื่อน ระวังเงินหายเกลี้ยงบัญชีไม่รู้ตัว

Loading

ต้องบอกว่าในช่วงที่ผ่านมานั้น ประเทศไทยมีผู้รับชมดูภาพยนตร์ ซีรีย์ ละคร หรือเนื่อหาต่าง ๆ ผ่านช่องทางเถื่อนเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะบนแอปพลิเคชันโซเชียลมีเดีย ที่มักจะมีการคลิกลิงก์เพื่อเข้าไปดูมากมายหลายลิงก์ แต่การเข้าไปลิงก์เถื่อนนั้นว่าผิดกฎหมายแล้ว ทว่าลิงก์เหล่านี้ยังซุกซ่อนภัยอันตรายที่คุณอาจคาดไม่ถึงก็เป็นไปได้

FBI เตือน อย่าใช้แท่นชาร์จมือถือสาธารณะ เพราะเสี่ยงอาจโดนแฮ็ก

Loading

สำนักงานสอบสวนกลางของสหรัฐฯ (FBI) ออกมาเตือนภัย เกี่ยวกับแท่นชาร์จโทรศัพท์มือถือสาธารณะ ที่มีผู้ไม่หวังดีสวมรอยใช้ช่องเสียบ USB สำหรับชาร์จมือถือ ให้กลายเป็นช่องทางการแฮ็กข้อมูลเหยื่อที่เผลอเสียบสายชาร์จเข้ากับแท่นชาร์จแบบไม่รู้ตัว

ปัญหาขององค์กรคืออะไร? เมื่อความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมาพร้อมกับภัยคุกคามไซเบอร์ที่หลีกเลี่ยงไม่ได้

Loading

“สมัยนี้ธุรกิจจำเป็นต้องขับเคลื่อนด้วยข้อมูล เพื่อการวิเคราะห์ คาดการณ์ และบริหารงานต่าง ๆ ซึ่งก็เป็นแรงจูงใจให้องค์กรโยกย้ายข้อมูลต่าง ๆ เข้าสู่โลกออนไลน์ เพื่อให้สามารถใช้ข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ  แต่ในทางตรงกันข้ามก็เป็นตัวกระตุ้นชั้นดีให้กับมิจฉาชีพที่จ้องจะฉวยโอกาสจากช่องโหว่ เพื่อเข้าถึงข้อมูลสำคัญ ๆ