อินโดนีเซียและไทยขยายความร่วมมือด้านกลาโหม โดยมุ่งเน้นไปที่ด้านอวกาศ ไซเบอร์ และการฝึกซ้อมร่วมกัน

Loading

กองทัพอากาศอินโดนีเซียและไทยกำลังเพิ่มความร่วมมือด้านกลาโหมในภูมิภาคอินโดแปซิฟิก โดยมุ่งเน้นไปที่การป้องกันทางอวกาศและไซเบอร์ การฝึกซ้อมร่วม และความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ ในระหว่างการเยือนประเทศไทยเมื่อไม่นานมานี้ พล.อ.ท. โทนี ฮาร์โจโน เสนาธิการกองทัพอากาศอินโดนีเซีย ได้ประชุมกับ พล.อ.อ. พันธ์ภักดี พัฒนกุล ผู้บัญชาการทหารอากาศไทย เพื่อหารือเกี่ยวกับการขยายความร่วมมือระหว่างกองทัพอากาศของไทยและอินโดนีเซีย

มัลแวร์ Gorilla Botnet รุ่นใหม่ ยิง DDoS กว่า 3 แสนครั้ง ใส่เหยื่อกว่า 100 ประเทศทั่วโลก

Loading

DDoS หรือ Distributed Denial of Service นั้นเป็นการระดมยิงแพ็คเกจข้อมูลจำนวนมากใส่เครื่องเป้าหมายเพื่อให้ระบบรวน หยุดการทำงาน โดยอาจใช้เพื่อการก่อกวน หรือเพื่อเปิดช่องให้แฮกเกอร์ทำการเข้าแฮกระบบเนื่องจากระบบป้องกันได้อ่อนแอลงก็ได้ ซึ่งการที่จะทำได้นั้นต้องมีการสร้างเครื่องที่ช่วยยิง หรือซอมบี้ จำนวนมากผ่านทางมัลแวร์

ขวบปี “ฮามาสโจมตีอิสราเอล” สงครามขยายใหญ่ บานปลายวิกฤตมนุษยธรรมโลก!

Loading

    ศ.กิตติคุณ ดร.สุรชาติ บำรุงสุข นักวิชาการด้านความมั่นคงชื่อดัง ขมวดปมสถานการณ์ตึงเครียดที่ตะวันออกกลาง ในวาระ 1 ปีเหตุการณ์ Surprise Attack กลุ่มฮามาสเปิดฉากโจมตีอิสราเอล อย่างรุนแรงในแบบที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน   ผลของเหตุการณ์ตลอดระยะเวลา 1 ปี อิสราเอลลุยปฏิบัติการ “เอาคืนทางการทหาร” และขยายพื้นที่สงครามไปเรื่อยๆ จนกลายเป็นวิกฤตมนุษยธรรมชุดใหญ่ของโลก โดยที่ยังมองไม่เห็นทางออกของปัญหาเลย   – 7 ต.ค.67 ครบรอบ 1 ปี เหตุการณ์กลุ่มฮามาสโจมตีอิสราเอล   – ยิงจรวดประมาณ 5,000 นัด ส่งกำลังพลประมาณ 3,000 คน ข้ามพรมแดนเข้าไปเปิดการโจมตีขนาดใหญ่ต่อพื้นที่ตอนในของอิสราเอลอย่างที่ไม่เคยเกิดมาก่อน   – ผลของการโจมตีทำให้ชาวยิวเสียชีวิต 1,195 คน เป็นพลเรือน 815 คน และมีผู้ถูกจับเป็นตัวประกัน 251 คน เป็นชาวยิวและคนสัญชาติอื่นรวมทั้งแรงงานไทย   – กลายเป็นปฏิบัติการเขย่าขวัญชาวยิว เสมือนเป็น 9/11…

รฟม. ร่วมกับ จุฬาฯ ส่งเสริมการนำ AI มาใช้ตรวจจับ แจ้งเตือน และป้องกันการบุกรุก เพื่อยกระดับด้านการรปภ. ในเขตระบบรถไฟฟ้า

Loading

รฟม. ร่วมกับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดกิจกรรมการนำเสนอผลการศึกษาวิจัยภายใต้โครงการความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกในการวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน 2567

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดทำเว็บไซต์เผยแพร่ข้อมูล ‘แผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วม’

Loading

มช. ทำเว็บไซต์‘แผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วม’ ในเขตตัวเมืองจังหวัดเชียงใหม่ อ้างอิงตามระดับความสูงของแม่น้ำปิง มีข้อมูลจุดอพยพ เส้นทางการอพยพ จุดอันตรายรวมถึงหมายเลขโทรศัพท์สถานพยาบาลและหน่วยงานฉุกเฉินต่างๆ