เกาหลีใต้ : วาระแห่งชาติ
รัฐบาล หน่วยงานกำกับดูแล และตำรวจเกาหลีใต้ ให้คำมั่นว่าจะต่อสู้กับเทคโนโลยี “ดีปเฟค” ที่แสวงหาประโยชน์ทางเพศ พร้อมกับเรียกร้องเทเลแกรม และบริษัทสื่อสังคมออนไลน์แห่งอื่น ให้ความร่วมมือ
รัฐบาล หน่วยงานกำกับดูแล และตำรวจเกาหลีใต้ ให้คำมั่นว่าจะต่อสู้กับเทคโนโลยี “ดีปเฟค” ที่แสวงหาประโยชน์ทางเพศ พร้อมกับเรียกร้องเทเลแกรม และบริษัทสื่อสังคมออนไลน์แห่งอื่น ให้ความร่วมมือ
เว็บไซต์ MSN รายงานเมื่อ 23 มิ.ย.67 ว่า เมื่อ 21 มิ.ย.67 หน่วยอารักขาประธานาธิบดีของสหรัฐฯ (US Secret Service) วางมาตรการรักษาความปลอดภัยการประชุมของพรรครีพับลิกัน (Republican National Convention – RNC) ที่จะจัดขึ้นที่หอประชุม Fiserv Forum เมืองมิลวอกี รัฐวิสคอนซิน ในวันที่ 15 -18 ก.ค.67 เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ประท้วงรวมตัวกันที่สวนสาธารณะขนาดใหญ่ใกล้สถานที่จัดงาน
โดย อธิชญา สุขธรรมรัตน์ ดิจิทัล เวนเจอร์ส ร่วมมือกับกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอี) และมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศ เปิดตัว B.VER (Blockchain Solution for Academic Document Verification) แพลตฟอร์มดิจิทัลสำหรับตรวจสอบเอกสารทางการศึกษาด้วยเทคโนโลยีบล็อคเชน (Blockchain) ที่ให้สถาบันการศึกษา หรือองค์กรต่างๆ สามารถตรวจสอบวุฒิการศึกษา หรือ Transcript ผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ได้แบบเรียลไทม์ ช่วยป้องกันปัญหาการปลอมแปลงวุฒิการศึกษา อรพงศ์ เทียนเงิน ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ดิจิทัล เวนเจอร์ส จำกัด กล่าวว่าปัญหาเรื่องการปลอมแปลงวุฒิการศึกษามีมาอย่างยาวนาน และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จึงอยากจะนำเทคโนโลยีขั้นสูงอย่างบล็อคเชนมาแก้ปัญหาดังกล่าว จึงพัฒนาเป็นแพลตฟอร์ม B.VER เพื่อให้มหาวิทยาลัยและองค์กรต่างๆ ใช้เป็นเครื่องมือในการตรวจสอบวุฒิการศึกษา ด้านจีรพล มัทวพันธุ์ Head of Project Delivery ของบริษัท ดิจิทัล เวนเจอร์ส จำกัด อธิบายการทำงานของ B.VER ว่าการถูกแบ่งเป็น 2 ส่วนหลัก ส่วนแรกคือการอัพโหลดไฟล์ต้นฉบับขึ้นสู่แพลตฟอร์มโดยมหาวิทยาลัย จากนั้นระบบจะดำเนินการเข้ารหัสและเก็บเอกสารไว้ในบล็อคเชน…
ภายในรั้วมหาวิทยาลัยทั่วสหรัฐฯ คงไม่มีใครคาดคิดว่าจะเป็นสถานที่เเรกที่นักสอดแนมจะแฝงตัวเข้าไปปนเปกับนักศึกษา เเต่ แดน โกลด์เดน (Dan Golden) ผู้สื่อข่าวสายสอบสวน กล่าวว่าคุณจะแปลกใจ เพราะมหาวิทยาลัยในสหรัฐฯ เต็มไปด้วยนักสอดแนมหรือสายลับ โกลด์เดน กล่าวว่า ในมหาวิทยาลัยของสหรัฐฯ มีนักศึกษาเเละศาสตราจารย์ชาวต่างชาติจำนวนมากมาย บางคนมาหาข้อมูลให้แก่ประเทศของตน ไม่ว่าจะเป็นความลับทางวิทยาศาสตร์หรือมาสร้างเเหล่งข่าว โกลด์เดน พูดถึงตัวอย่างการสอดแนมในรั้วมหาวิทยาลัยในหนังสือที่เขาเขียน เรื่อง “สปาย สคูลส์” (“Spy Schools”) เขากล่าวว่ามหาวิทยาลัยในสหรัฐฯ เป็นแหล่งดึงดูดนักสอดแนม เพราะมีการเเลกเปลี่ยนทางความคิดและวัฒนธรรมกันอย่างอิสระ ชาร์ลี แม็คกอลนิกัล (Charlie Mcgonigal) เจ้าหน้าที่พิเศษที่ดูแลฝ่ายต่อต้านข่าวกรองของสำนักงานข่าวกรองแห่งชาติสหรัฐฯ หรือ เอฟบีไอ กล่าวว่า นี่เป็นปัญหาใหญ่มากเพราะในสหรัฐฯ สถาบันการศึกษาเปิดกว้าง มีการศึกษาวิจัยและการพัฒนามากมายที่บรรดารัฐบาลต่างชาติต้องการได้ข้อมูลเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ และจะส่งนักศึกษาของตนเข้าไปเรียนในมหาวิทยาลัยอเมริกันเพื่อจุดประสงค์นี้โดยเฉพาะ ส่วนชาวอเมริกันที่ไปเรียนในต่างประเทศก็มักตกเป็นเหยื่อของรัฐบาลต่างชาติที่ต้องการใช้เป็นนักสอดแนม ในปี พ.ศ. 2557 เอฟบีไอได้สนับสนุนเงินในการสร้างภาพยนตร์เรื่องหนึ่งที่อิงเนื้อหาจากเรื่องจริง เกี่ยวกับนาย เกลน ชริฟเฟอร์ (Glenn Shriver) นักศึกษาชาวอเมริกันที่รัฐบาลจีนว่าจ้างให้เป็นนักสอดแนมแก่จีน เเม็คกานิกัลกล่าวว่า นักศึกษาถูกใช้โดยรัฐบาลต่างชาติให้เป็นสายลับ เเละสั่งให้ไปสมัครทำงานในรัฐบาลสหรัฐฯ หรือในภาคเอกชนที่ต้องการได้ข้อมูลไปใช้ประโยชน์…
ธรรมศาสตร์ แจงเพิ่มมาตรการป้องกันความปลอดภัยเข้มงวดแล้ว หลังเกิดปัญหา McAfee ตรวจพบเซิร์ฟเวอร์ถูกควบคุมการทำงานใช้เป็นฐานจารกรรมหลายประเทศ รูปแบบคล้ายกรณี Hidden Cobra ที่กองทัพแฮกเกอร์เกาหลีเหนืออยู่เบื้องหลัง ยันประสานงานไทยเซิร์ต ทำตามคำแนะนำแก้ปัญหาเร่งด่วนทันที ตัดการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย ตรวจสอบไม่พบความเสียหายต่อระบบภายในมหาวิทยาลัย สืบเนื่องจากสำนักข่าวอิศรา www.isranews.org นำเสนอข้อมูลกรณี McAfee (โปรแกรมเอกชนที่ใช้ตรวจสอบไวรัสในคอมพิวเตอร์ ทำให้คอมพิวเตอร์ปลอดภัยจากไวรัสและสปายแวร์ต่างๆ) ตรวจสอบพบแฮกเกอร์เกาหลีเหนือใช้เซิฟเวอร์ประเทศไทยในการจารกรรมข้อมูลจาก 17 ประเทศ โดยระบุที่ตั้ง server ที่ใช้จารกรรมข้อมูลดังกล่าวนั้นตั้งอยู่ที่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยเบื้องต้นอยู่ระหว่างการตรวจสอบของศูนย์ประสานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์ประเทศไทย (ThaiCERT) หน่วยงานในสังกัดสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์หรือ เอ็ตด้า นั้น (อ่านประกอบ : เรื่องใหญ่! เมื่อ McAfee ตรวจพบเกาหลีเหนือใช้ server (ธรรมศาสตร์) จารกรรมข้อมูล17ปท.ทั่วโลก?) ล่าสุดมหาวิทยาลัยธรรมาศาสตร์ ได้ออกข่าวประชาสัมพันธ์ อ้างอิงคำให้สัมภาษณ์ ดร.ปกป้อง ส่องเมือง ผู้อำนวยการสำนักงานศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ (สทส.) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระบุว่า จากกรณีกระแสข่าวมีนักวิจัยด้านความปลอดภัยจาก McAfee รายงานว่าช่วงกลางเดือนมีนาคมที่ผ่านมา เซิร์ฟเวอร์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์บางเครื่องถูกเข้ามาควบคุมการทำงานบางส่วนโดยไม่ได้รับอนุญาต และใช้เป็นฐานสำหรับการพยายามไปควบคุมการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์อื่นในหลายประเทศ…
“…ศูนย์ประสานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์ประเทศไทย (ThaiCERT) หน่วยงานในสังกัดสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์หรือเอ็ตด้า ประกาศเมื่อวันพุธที่ผ่านมา (25 เมษายน 2561) ว่าได้มีการระงับเซิร์ฟเวอร์ซึ่งถูกใช้ในปฏิบัติการของแฮกเกอร์แล้วและส่งต่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินคดีตามกฎหมาย โดยมีการรายงานว่าเซิร์ฟเวอร์นี้ตั้งอยู่ที่ Thai National Legislative University (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) ..” นับเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งสำหรับประเทศไทย และไม่ควรมองข้ามโดยเด็ดขาด! เมื่อ ดร.นพนันท์ อรุณวงศ์ ณ อยุธยา โพสต์ข้อมูลในเฟซบุ๊ก ส่วนตัว ที่ใช้ชื่อว่า noppanan arunvongse na ayudhaya ระบุว่า Security Online/McAfee รายงาน เกาหลีเหนือใช้ server ที่ตั้งอยู่ในประเทศไทยจารกรรมข้อมูล 17 ประเทศทั่วโลก โดย server ที่เกาหลีเหนือใช้จารกรรมข้อมูลดังกล่าวนั้นตั้งอยู่ที่ “วิทยาลัยของรัฐสภาไทย (National Legislative University)” ในกรุงเทพฯ หมายเหตุ รายงานต้นทางของ McAfee ระบุว่า sever ดังกล่าวนั้นคือ server ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์…
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว