ตู้ ATM ใช้ AI เตือนผู้กดเงินถือมือถือโทร ให้วางสาย ป้องกันแก๊งคอลเซ็นเตอร์

Loading

ตู้ ATM ใช้ AI เตือนผู้กดเงินถือมือถือโทร ให้วางสาย โดยสำนักงานตำรวจแห่งชาติประเทศญี่ปุ่นได้ใช้เทคโนโลยี AI และเทคโนโลยีล่าสุดมาใช้กับตู้ ATM ในประเทศญี่ปุ่น เพื่อป้องกันการโดนหลอกโอนเงินผ่านทาง ATM และภัยหลอกลวงของแก๊งคอลเซ็นเตอร์ทางโทรศัพท์ ท่ามกลางปัญหามากที่สุดประการหนึ่งของจำนวนผู้สูงวัยที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของญี่ปุ่น คือ แก๊งคอลเซ็นเตอร์ที่กลับมุ่งเป้าไปหลอกลวงผู้สูงอายุมากขึ้น

ระงับให้บริการ! ผู้ถือซิมการ์ด 101 ซิมขึ้นไป ที่ยังไม่มายืนยันตัวตน

Loading

ตัวแทนคณะกรรมการ กสทช. ร่วมกับตำรวจไซเบอร์ และตัวแทนผู้ให้บริการ ประกอบด้วย AIS true-dtac และ NT ร่วมประชุมเพื่อหารือถึงมาตรการยืนยันตัวตนและข้อมูลเกี่ยวกับการใช้บริการของผู้ใช้บริการที่ถือครองซิมการ์ด หลังพ้นกำหนดระยะเวลายืนยันตัวตน

ตร.ไซเบอร์ จับหัวหน้าฝ่ายสินเชื่อ ลอบค้าข้อมูลลูกค้า หลุดไปถึงแก๊งคอลเซ็นเตอร์

Loading

มีเจ้าหน้าที่ฝ่ายสินเชื่อสถาบันการเงินเอกชนแห่งหนึ่ง คือ นายสุวรรณ อายุ 42 ปี ชาว จ.นนทบุรี มีพฤติกรรมลักลอบนำข้อมูลลูกค้าของสถาบันการเงินตนเอง มาดัดแปลง แก้ไข และนำไปจำหน่ายต่อให้กลุ่มที่สนใจ เช่น ตัวแทนสินเชื่อ ตัวแทนประกัน

ข้อมูลส่วนบุุคคลของไทยรั่วกว่า 10 ล้านคน หนุนกิจกรรมโจมตีทางไซเบอร์

Loading

  ข้อมูลส่วนบุคคลที่รั่วส่วนใหญ่มาจากแพลตฟอร์มที่เน้นข้อมูลผู้บริโภคเป็นหลัก แสดงให้เห็นว่ามีกลุ่มอาชญากรที่กำลังเพ่งเล็งไปที่ข้อมูลของคนไทยอย่างจริงจัง โดยมุ่งเป้าไปที่ทรัพยากรอีคอมเมิร์ซ ฟินเทค และภาครัฐของไทย   การอาละวาดหลอกลวงคนของเหล่ามิจฉาชีพในบ้านเราและประเทศอื่น ๆ ในตอนนี้ ส่วนหนึ่งเป็นผลพวงจากข้อมูลส่วนตัวรั่วไหล ล่าสุดบริษัทรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ รายงานว่า ในเดือน ม.ค.ที่ผ่านมา ข้อมูลคนไทยถูกประกาศขายใน Dark Web เป็นจำนวนมหาศาล ส่วนหนึ่งหลุดมาจากหน่วยงานรัฐ   Resecurity บริษัทรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์สำหรับองค์กรขนาดใหญ่และหน่วยงานภาครัฐทั่วโลก ระบุในรายงานว่าสถานการณ์ของประเทศไทย หลังมีอาชญากรไซเบอร์นำข้อมูล PII หรือข้อมูลที่สามารถใช้ระบุตัวตนของบุคคลได้ ซึ่งเป็นข้อมูลของพลเมืองไทยจำนวนมาก ไปประกาศขายผ่าน Dark Web หรือเครื่อข่ายเว็บมืดที่มักถูกใช้เพื่อเข้าถึงข้อมูลผิดกฎหมาย   ช่วงปี 2567 ประเทศไทยเจอปัญหาการรั่วไหลของข้อมูลที่เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัดเมื่อเทียบกับปี 2566 จากสถานการณ์ช่วงเดือนม.ค.ที่ผ่านมาเพียงเดือนเดียว มีการตรวจพบการละเมิดข้อมูลสำคัญของพลเมืองอย่างน้อย 14 ครั้ง ในแพลตฟอร์มของอาชญากรไซเบอร์ ส่วนใหญ่มาจากแพลตฟอร์มที่เน้นข้อมูลผู้บริโภคเป็นหลัก แสดงให้เห็นว่ามีกลุ่มอาชญากรที่กำลังเพ่งเล็งไปที่ข้อมูลของคนไทยอย่างจริงจัง โดยมุ่งเป้าไปที่ทรัพยากรอีคอมเมิร์ซ ฟินเทค และภาครัฐของไทย   หนึ่งในนั้นคือชุดข้อมูลที่ถูกเปิดเผยบน Breachedforums.is โดยมีป้ายกำกับว่าเป็นข้อมูลที่รั่วไหลออกมาจากเว็บไซต์ของกรมกิจการผู้สูงอายุ ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลส่วนบุคคล (PII) ที่เกี่ยวข้องกับประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทยเป็นหลัก เป็นข้อมูลจำนวนกว่า…

ระวัง AOC 1441 ของปลอม สร้างโดยมิจฉาชีพ

Loading

ระวัง AOC 1441 ของปลอม โดยหลายท่านคงรู้จักหรือได้ยินเกี่ยวกับบริการสายด่วนศูนย์ปฏิบัติการแก้ไขปัญหาอาชญากรรมออนไลน์ หรือ ศูนย์ AOC 1441 เป็นศูนย์ One Stop Service จัดตั้งโดยกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เพื่อแก้ปัญหาหลอกลวงออนไลน์

ตำรวจญี่ปุ่นเผยการหลอกลวงทางไซเบอร์พุ่ง 8% ในปี 2566 สูงสุดในรอบ 10 ปี

Loading

สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (National Police Agency) หรือ NPA ของญี่ปุ่นเปิดเผยข้อมูลในวันนี้ (8 ก.พ.) ระบุว่า ญี่ปุ่นมีจำนวนการหลอกลวงทางไซเบอร์และทางโทรศัพท์ที่ตำรวจตรวจพบเพิ่มขึ้น 8.3% ในปี 2566