8 หนังสือพิมพ์สหรัฐฟ้อง “โอเพนเอไอ-ไมโครซอฟท์” ปมแชตบอตเอไอ

Loading

บริษัทหนังสือพิมพ์ 8 แห่งของสหรัฐ ยื่นฟ้องบริษัท โอเพนเอไอ และไมโครซอฟท์ ต่อศาลรัฐบาลกลางในนครนิวยอร์ก ฐานละเมิดลิขสิทธิ์เพื่อฝึกฝนเทคโนโลยีที่อยู่เบื้องหลังแชตบอต “แชตจีพีที” และ “โคไพลอต”

Nightshade อุปกรณ์ใหม่ของศิลปินป้องกัน AI นำภาพไปใช้งาน

Loading

  ความก้าวหน้าของ AI นำไปสู่การเกิดข้อถกเถียงโต้แย้งในหลายด้าน โดยเฉพาะในกลุ่มศิลปินที่รู้สึกว่าพวกเขาถูกละเมิดลิขสิทธิ์ จากการที่ภาพของตนถูกนำไปใช้เป็นฐานข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาต นำไปสู่การคิดค้น Nightshade ระบบป้องกันไม่ให้เอไอนำภาพไปใช้งาน   ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี AI หรือ ปัญญาประดิษฐ์ สร้างแนวโน้มความเป็นไปได้ในการพัฒนาอันไร้ขีดจำกัด ความสะดวกสบายในการใช้งานไปจนขีดความสามารถเป็นสิ่งที่ผู้คนต่างยอมรับ แต่ขณะเดียวกันนี่ก็เป็นเทคโนโลยีที่ทำให้เกิดข้อถกเถียงในหลายด้าน   หนึ่งในกลุ่มที่เกิดข้อถกเถียงมากที่สุดคือ กลุ่มศิลปิน โดยเฉพาะเอไอที่สามารถสร้างภาพขึ้นมาได้โดยอาศัยเพียงการป้อนคำสั่งตัวอักษร เสียง หรือแม้แต่เสียงดนตรี แต่ด้วยความคลุมเครือในด้านข้อมูลที่นำไปใช้งานตลอดจนลิขสิทธิ์ ทำให้เกิดกระแสความไม่พอใจจนมีการฟ้องร้องตามกฎหมาย   นำไปสู่การคิดค้นพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อใช้ในการรับมือกับการสร้างภาพด้วยปัญญาประดิษฐ์โดยเฉพาะ     Nightshade และ Glaze ระบบป้องกันเอไอนำภาพไปใช้งาน   ผลงานนี้เป็นของทีมวิจัยจาก Massachusetts Institute of Technology(MIT) กับการคิดค้นระบบป้องกันชนิดใหม่ขึ้นมาเพื่อรับมือเอไอ โดยจะทำการเติมส่วนประกอบขนาดเล็กเพื่อทำให้ภาพเกิดการบิดเบือน ป้องกันไม่ให้เอไอนำภาพดังกล่าวไปใช้เทรนหรือเป็นต้นแบบในการผลิตภาพใหม่ต่อไป   เอไอกับศิลปะยังคงเป็นประเด็นร้อนแรงด้วยความคลุมเครือและช่องโหว่ของกฎหมาย ศิลปินจำนวนมากต่างรู้สึกว่าตัวเองถูกเอาเปรียบ เมื่อผลงานพวกเขาถูกใช้เป็นฐานข้อมูลสร้างภาพขึ้นมาใหม่ นำไปสู่การฟ้องร้องในข้อหาละเมิดลิขสิทธิ์ต่อเอไอเชิงศิลปะอย่าง DALL-E, Midjourney และ Stable Diffusion   ปัจจุบันการฟ้องร้องยังคงไม่ยุติแม้มีการประกาศว่าภาพจากเอไอไม่มีลิขสิทธิ์เพื่อป้องกันปัญหา แต่ข้อถกเถียงนี้เองนำไปสู่แนวคิดในการพัฒนาแนวทางป้องกัน…

ตำรวจไซเบอร์ เตือน ใครชอบดูหนังฟรีผ่านเว็บเถื่อน ระวังเงินหายเกลี้ยงบัญชีไม่รู้ตัว

Loading

ต้องบอกว่าในช่วงที่ผ่านมานั้น ประเทศไทยมีผู้รับชมดูภาพยนตร์ ซีรีย์ ละคร หรือเนื่อหาต่าง ๆ ผ่านช่องทางเถื่อนเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะบนแอปพลิเคชันโซเชียลมีเดีย ที่มักจะมีการคลิกลิงก์เพื่อเข้าไปดูมากมายหลายลิงก์ แต่การเข้าไปลิงก์เถื่อนนั้นว่าผิดกฎหมายแล้ว ทว่าลิงก์เหล่านี้ยังซุกซ่อนภัยอันตรายที่คุณอาจคาดไม่ถึงก็เป็นไปได้

ทำลายยาก ลายน้ำแบบใหม่ ถอดรหัสผ่านคลาวด์

Loading

  เมื่อเร็ว ๆ นี้ บริษัท CastLabs จากเยอรมนีได้เปิดตัว “ลายน้ำทางนิติเวชแบบเฟรมเดียว หรือ single-frame forensic watermarking ซึ่งเป็นวิธีการใหม่ที่ทำงานผ่านระบบคลาวด์เพื่อให้สามารถระบุ ภาพหรือวีดีโอที่ละเมิดลิขสิทธิ์ได้ง่าย ๆ   สำหรับ “ลายน้ำ” คือการระบุรูปแบบที่ซ่อนอยู่ในกระดาษ รูปภาพ หรือเนื้อหาประเภทอื่นๆ ที่ผู้ผลิตและผู้ให้บริการสามารถใช้เพื่อตรวจจับของปลอมหรือการละเมิดลิขสิทธิ์   แนวทางใหม่นี้ จะช่วยให้บริษัทสามารถฝัง “ลายน้ำในระดับที่มีความทนทาน” แม้กับไฟล์ที่มีบิทเรตเพียงน้อยนิด ในเนื้อหาดิจิทัล เช่น รูปภาพ วิดีโอ เอกสาร หรือไฟล์ดิจิทัลประเภทอื่น ๆ ได้   ขั้นเริ่มต้น อัลกอริธึมของ CastLabs จะฝังลายน้ำลงไปในไฟล์พร้อม ๆ กับขั้นตอนการเข้ารหัส จากนั้น หากต้องการจะตรวจสอบ สามารถทำได้ผ่านระบบคลาวด์ที่สามารถถอดรหัสลายน้ำที่ฝังไว้ออกมาได้ครับ   วิธีการดังกล่าวถูกเรียกว่า “blind extraction” สามารถดึงรูปแบบที่ซ่อนอยู่จากเนื้อหาที่มีลายน้ำ ในกรณีที่ไม่สามารถเข้าถึงลายน้ำต้นฉบับได้อีกต่อไป ซึ่งเป็นการซ่อนลายน้ำอีกชั้นหนึ่ง และไม่สามารถนำออกไปได้    …

ลิขสิทธิ์ และ กฎหมายกับ AI

Loading

    ลิขสิทธิ์ และ กฎหมายกับ AI   AI วาดรูปที่เคยเป็นที่ฮือฮามาก ๆ ในช่วงปลายปีที่แล้ว ทั้ง Dall-E2, Midjourney จนตอนนี้ ผ่านมาแค่ครึ่งปี แต่ AI วาดรูปก็กลายเป็นเรื่องปกติไปที่เดี๋ยวนี้ใคร ๆ ก็ใช้ บางคนก็เอาไปใช้เป็นรูปประกอบ บางคนเอารูปนั้นไปขาย บางที่ก็ฝึกให้ AI เรียนรู้สไตล์ภาพของศิลปิน แล้วสร้างภาพใหม่ในสไตล์นั้นขึ้นมา แต่ เอ๊ะ…แล้วแบบนี้ มันจะเรียกว่าละเมิดลิขสิทธิ์หรือผิดกฎหมายไหม?   ซึ่งเรื่องนี้ก็มีรายงานข่าวจากต่างประเทศว่า มีศิลปิน 3 คนรวมตัวกันยื่นฟ้อง Midjourney และ Stable Diffusion เอไอวาดรูปที่เป็นที่นิยมมาก ๆ ข้อหาละเมิดสิทธิ์ของ “ศิลปินหลายล้านคน” ด้วยการเอารูปของพวกเขาไปเทรน AI แต่คดียังไม่จบนะคะ   1/ As I learned more about how the…

ตุลาการสหรัฐตัดสิน “อินเทอร์เน็ต อาร์ไคฟ์” ละเมิดลิขสิทธิ์

Loading

    เมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา ผู้พิพากษาสหรัฐมีคำตัดสินว่า ห้องสมุดออนไลน์ที่ดำเนินการโดย “อินเทอร์เน็ต อาร์ไคฟ์” (ไอเอ) ซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร ละเมิดลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์สหรัฐรายใหญ่ 4 ราย ด้วยการให้ยืมสำเนาหนังสือแบบดิจิทัลที่มาจากการสแกน   สำนักข่าวรอยเตอร์ส รายงานจากนครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 26 มี.ค. ว่า คำตัดสินของนายจอห์น โคเอลต์ ผู้พิพากษาศาลรัฐบาลกลางเขตแมนฮัตตัน มีต่อคดีที่ถูกจับตามองอย่างใกล้ชิด ซึ่งเป็นการตรวจสอบความสามารถของไอเอ ในการให้ยืมผลงานของนักเขียน และสำนักพิมพ์ที่ยังคงได้รับการคุ้มครอง จากกฎหมายลิขสิทธิ์ของสหรัฐ โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายใด ๆ   ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ไอเอทำการสแกนหนังสือหลายล้านเล่ม และให้ยืมสำเนาในรูปแบบดิจิทัลโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย ซึ่งแม้หนังสือหลายเล่มจะเป็นสมบัติสาธารณะ แต่หนังสือราว 3.6 ล้านเล่ม ได้รับการคุ้มครองโดยลิขสิทธิ์ที่ถูกต้อง     สำนักพิมพ์ของสหรัฐ 4 แห่ง ฟ้องร้องไอเอ เกี่ยวกับหนังสือ 127 เล่ม เมื่อปี 2563 หลังจากองค์การขยายการให้ยืมหนังสือในช่วงการระบาดของโรคโควิด-19 โดยยกเลิกการจำกัดจำนวนคนที่สามารถยืมหนังสือเล่มหนึ่งได้ในแต่ละครั้ง   ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา…