อิสราเอลเผยคลิปจากโดรน ภาพสุดท้ายนายยาห์ยา ซินวาร์ ก่อนถูกสังหาร

Loading

กองทัพอิสราเอลเผยแพร่คลิปภาพจากโดรนสอดแนม ที่จับภาพนายยาห์ยา ซินวาร์ ผู้นำกลุ่มฮามาสซึ่งได้รับบาดเจ็บซ่อนตัวอยู่ในซากอาคารหลังหนึ่งในกาซา ก่อนที่อีกไม่กี่นาทีต่อมากองทัพอิสราเอลจะใช้รถถังยิงโจมตีเข้าใส่อาคารหลังดังกล่าวเพื่อปลิดชีพเขา

EU เลื่อนใช้ระบบไบโอเมตริกตรวจต่างชาติเข้าเมือง หลัง 3 ประเทศโอดยังไม่พร้อม

Loading

สหภาพยุโรป (EU) เลื่อนใช้ระบบใหม่ในการตรวจสอบตัวตนด้วยข้อมูลทางชีวภาพหรือไบโอเมตริก (biometric entry-check system) สำหรับผู้ที่ไม่ใช่พลเมืองใน EU ซึ่งเดิมมีกำหนดจะเริ่มใช้ในวันที่ 10 พ.ย.นี้ หลังจากเยอรมนี ฝรั่งเศส และเนเธอร์แลนด์ระบุว่า ยังไม่มีความพร้อมเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์สำหรับการตรวจสอบคนเข้าเมืองด้วยระบบดังกล่าว

รัฐแคลิฟอร์เนียออกกฎหมายคุ้มครอง ‘ข้อมูลประสาท’ จากคลื่นสมองคนไข้

Loading

สำนักข่าวเอเอฟพีรายงานจากเมืองซานฟรานซิสโก สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 1 ต.ค. ว่า นายเกวิน นิวซัม ผู้ว่าการรัฐแคลิฟอร์เนีย ลงนามในกฎหมายแก้ไขใหม่ เพื่อคุ้มครองความเป็นส่วนตัวของผู้บริโภค ซึ่งสอดคล้องกับกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ของสหภาพยุโรป (จีดีพีอาร์) เพื่อควบคุมความเป็นส่วนตัวของ “ข้อมูลประสาท” จากการระบุพิกัด, พันธุกรรม และข้อมูลชีวภาพ

เปิดพฤติการณ์แก๊งคาร์บอมบ์ตากใบ จี้ชิง จยย.ชาวบ้าน 4 คัน คาดหนีข้ามแดน

Loading

ความคืบหน้าเหตุการณ์ “คาร์บอมบ์” ที่บริเวณสามแยกใกล้บ้านพักนายอำเภอตากใบ และกองร้อยอาสารักษาดินแดนที่ 5 อ.ตากใบ ในพื้นที่ หมู่ 3 ต.เจ๊ะเห อ.ตากใบ จ.นราธิวาส เมื่อค่ำของวันที่ 29 ก.ย.67 ที่ผ่านมา จนทำให้มีกำลังพลทหารนาวิกโยธินฯ ได้รับบาดเจ็บจำนวน 2 นาย ทั้งยังทำให้บ้านเรือนประชาชนได้รับความเสียหายจากแรงระเบิดและเพลิงไหม้นั้น

นศ. สุดเจ๋ง ใช้ “เอไอ” พิสูจน์ได้ว่าคนที่มีลายนิ้วมือเหมือนกันมีอยู่จริง

Loading

เกบ กัว นักศึกษาภาควิชาวิศวกรรมซึ่งเป็นหัวหน้าของโครงการค้นคว้าที่แสนท้าทายครั้งนี้ โดยเขายกประเด็นโต้แย้งหลักการที่ได้รับการยอมรับกันมานานหลายสิบปีว่า ลายนิ้วมือแต่ละนิ้วของคนล้วนมีเอกลักษณ์และไม่มีลายนิ้วมือคู่ใดในโลกนี้ที่เหมือนกันทุกประการ

Mastercard เปิดบริการจ่ายเงินด้วยใบหน้าหรือลายนิ้วมือ

Loading

  Mastercard เปิดโครงการ Biometric Checkout เป็นเฟรมเวิร์คสำหรับบริษัทพันธมิตรเข้ามาให้บริการจ่ายเงินแบบใช้เพียงใบหน้าหรือลายนิ้วมือ โดยการทดสอบครั้งแรกจะเริ่มในบราซิล พันธมิตรที่ร่วมทดสอบกลุ่มแรก ได้แก่ NEC , Payface , Aurus , PaybyFace , PopID , และ Fujitsu Limited ในบราซิลจะเป็นการทดสอบกับบริษัท Payface ก่อน โดยเฟรมเวิร์คจะกำหนดแนวทางการรักษาความปลอดภัย , ประสิทธิภาพของระบบ biometric ที่ใช้งาน , และการเก็บรักษาข้อมูล biometric ผู้ใช้ที่ร่วมทดสอบกับ Payface จะต้องลงทะเบียนใบหน้าผ่านแอป Payface ก่อน จากนั้นเมื่อเข้าคิวจ่ายค่าสินค้า ก็สามารถจ่ายได้ทันทีเพียงแค่ยิ้มให้กับกล้อง ประโยชน์สำหรับผู้จ่ายคือไม่ต้องหาบัตร ขณะที่ร้านค้าเองก็น่าจะทำให้คิวจ่ายเงินใช้เวลาน้อยลง การยืนยันตัวตนด้วยชีวมิติ (biometric) นั้นมีข้อจำกัดที่ความแม่นยำจะต่ำกว่าการยืนยันด้วยกระบวนการเข้ารหัสลับ เช่น ในชิปบัตรเครดิตทุกวันนี้ ที่ผ่านมา Mastercard เองก็ใช้เทคโนโลยีกลุ่มนี้ร่วมกับการยืนยันด้วยบัตรเครดิตที่มีตัวอ่านลายนิ้วมือ หรือยืนยันตัวตนกับโทรศัพท์มือถือผ่านโปรโตคอล FIDO อีกชั้น น่าสนใจว่าการใช้ใบหน้าหรือลายนิ้วมือเพียงอย่างเดียวจะมีความแม่นยำเพียงพอหรือไม่ ตลอดจนทนทานต่อความพยายามปลอมแปลงตัวหรือเปล่า…