ไฟใต้ 3 ยุค ในมือรัฐบาลชินวัตร
ในสายตาของนักวิชาการระดับ “กูรู” อย่าง อาจารย์สุรชาติ บำรุงสุข ที่ส่งสัญญาณเตือน 10 ประเด็นความมั่นคงเฉพาะหน้า ท้าทายรัฐบาลแพทองธาร
ในสายตาของนักวิชาการระดับ “กูรู” อย่าง อาจารย์สุรชาติ บำรุงสุข ที่ส่งสัญญาณเตือน 10 ประเด็นความมั่นคงเฉพาะหน้า ท้าทายรัฐบาลแพทองธาร
ครม.ไฟเขียว ขยายระยะเวลาประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงในเขตพื้นที่ จ.ชายแดนภาคใต้ ยกเว้นบางอำเภอ ไปอีก 3 เดือน 20 ก.ค.-19 ต.ค.67 และรับทราบร่างประกาศ 2 ฉบับ
คำเตือนสำคัญจาก อาจารย์สุรชาติ บำรุงสุข นักวิชาการด้านความมั่นคงชื่อก้อง ที่ออกมากระตุกเตือนการเร่งเดินหน้าพูดคุยสันติสุขกับบีอาร์เอ็น มี 3 เรื่องที่เป็นแก่นแกนสำคัญ
วันที่ 16 มกราคม 2567 นางสาวเกณิกา อุ่นจิตร์ รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) วันนี้ มีมติอนุมัติผลการประชุมคณะกรรมการบริหารสถานการณ์ฉุกเฉิน ครั้งที่ 1/2567 ตามที่สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) ต่อ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน จชต. อีก 3 เดือน
เลขาฯ สมช. หนักใจปัญหาก่อการร้าย พบรูปแบบก่อเหตุโดยลำพังมากขึ้น จากแนวคิดสุดโต่ง เร่งป้องกันเส้นทางฟอกเงินอุดหนุน ขอหน่วยงานเกี่ยวข้องร่วมมือผลักดันกฎหมายที่เหมาะสม ไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชน แต่สุดท้ายติดที่สภา ชี้การเมืองเป็นจุดเปราะบาง พลเอก สุพจน์ มาลานิยม เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ กล่าวเปิดการประชุมชี้แจงนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. 2566 – 2570) ไปสู่การปฏิบัติ ภายใต้ชื่องาน “เมื่อโลกปรับ และภัยเปลี่ยน: ร่วมเดินหน้า 17 นโยบาย มุ่งสู่ประเทศไทยมั่นคงอย่างยั่งยืน” มีเป้าหมายเพื่อเสริมสร้างการรับรู้และส่งเสริมความเข้าใจนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. 2566 – 2570) เพื่อให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้ประเทศชาติมีความมั่นคง ประชาชนมีความสุข เลขาธิการ สมช. ได้กล่าวบรรยายถึงสถานการณ์ความมั่นคง ว่า ความมั่นคงแบบองค์รวมที่ทุกภาคส่วนต้องร่วมกันทำงานตั้งแต่การกำหนดนโยบาย แผนงานต่างๆ ปัจจุบันเป็นช่วงการถ่ายทอดแผน เพื่อให้ประเทศชาติมั่นคงและประชาชนอยู่ดีมีสุข การขับเคลื่อนงานต่อไป ต้องอยู่ในบริบทความมั่นคงของโลก ถือเป็นความท้าทาย ส่วนเรื่องก่อการร้าย เป็นเรื่องสำคัญที่ทิ้งไม่ได้ สมช.ก็หนักใจ หลายส่วนราชการที่เกี่ยวข้องก็หนักใจ เราจะพบรูปแบบการก่อเหตุที่หลากหลายมากขึ้น เป็นที่น่ากังวลที่พบคือ…
เลขาฯ สมช. เผย นายกฯ ย้ำ ความปลอดภัยคนไทยต้องมาก่อนแจง มีแผนอพยพหากเมียนมาปะทะรุนแรง ชี้ ผู้หลบหนีภัยเกือบ 5 พันคน ด้านจังหวัดตั้งศูนย์อำนวยการฯ ประสานดูแลตามหลักสิทธิมนุษยชน วันนี้ (27 ธ.ค.) ที่ทำเนียบรัฐบาล พล.อ.สุพจน์ มาลานิยม เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) กล่าวถึงสถานการณ์ปะทะรุนแรงในเมียนมาและมีผู้อพยพเข้ามายังประเทศไทยด้าน อ.แม่สอด จ.ตาก จำนวนมากว่า พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และ รมว.กลาโหม เป็นห่วง และสั่งการไว้แล้วว่าอาจจะมีเหตุการณ์สู้รบและปะทะกันรุนแรง ดังนั้นสิ่งแรกที่รัฐบาลต้องดูแลและดำเนินการคือ ปกป้องชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนคนไทยเป็นลำดับแรก ควบคู่ไปกับการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมตามความจำเป็นหากมีเหตุรุนแรง ทางจังหวัดจะร่วมกับหน่วยงานความมั่นคงได้เตรียมแผนอพยพประชาชนเอาไว้อย่างชัดเจนแล้ว หากมีการหนีภัยเมื่อเข้ามาหน่วยงานความมั่นคงจะประสานตรงไปถึงรัฐบาลเมียนมาและหน่วยกองกำลังที่อยู่ตามชายแดน พล.อ.สุพจน์ กล่าวว่า สำหรับผู้ที่หนีภัยเข้ามาตามแนวชายแดนในปัจจุบันยังไม่พบการติดเชื้อโควิด แต่ได้พูดคุยกับฝ่ายความมั่นคง กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงมหาดไทย รวมถึงกองกำลังในพื้นที่ จ.ตาก เรื่องการรับผู้หนีภัยความไม่สงบ ตามที่นายกฯ เป็นห่วงและกำชับ ให้มีการคัดกรอง หากพบว่ามีลักษณะเสี่ยงติดเชื้อ จะคัดแยกและแจ้งทางจังหวัดให้ดำเนินการรักษาต่อไป ทั้งนี้ สถานการณ์ล่าสุดยังมีสถานการณ์สู้รบในเมียนมา โดยมีผู้หนีภัยเข้ามาประมาณ…
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว