จับภัยคุกคาม กองทัพสหรัฐติดกล้อง AI ใช้ในโรงงานนิวเคลียร์

Loading

สำนักข่าวรอยเตอร์รายงานว่า เมื่อวันอาทิตย์ที่ผ่านมา (3 พ.ย.) ประชาชนหลายร้อยคนจากชุมชนชานเมืองแคว้นบาเลนเซียที่ได้รับผลกระทบหนักจากเหตุอุทกภัยเมื่อสัปดาห์ก่อน ออกมาประท้วงระหว่างการเสด็จเยือนของกษัตริย์เฟลิเป สมเด็จพระราชินีเลตีเซีย และนายกรัฐมนตรีเปโดร ซานเชซ ขณะที่บางรายขว้างปาก้อนโคลนเพื่อแสดงความไม่พอใจ

ลาวเปิดศูนย์เฝ้าระวังแผ่นดินไหว เชื่อมโยงข้อมูลจากไทยและอีกหลายชาติอาเซียน

Loading

ศูนย์ปฏิบัติการแผ่นดินไหวของลาว ตั้งอยู่ที่นครหลวงเวียงจันทน์ โดยจะมีการรับและเชื่อมโยงข้อมูลกับอีกหลายประเทศในภูมิภาค รวมถึงไทย

ไต้หวันเตือนภัยทั่วเกาะ หลังจีนปล่อยดาวเทียมเหนือน่านฟ้า สงสัยหวังสอดแนมเลือกตั้งไต้หวัน

Loading

กระทรวงกลาโหมของไต้หวัน ระบุว่า กระทรวงกลาโหมจะติดตามทิศทางดาวเทียมของจีน พร้อมแจ้งเตือนประชาชนและตอบสนองต่อสถานการณ์ตามความเหมาะสมต่อไป นับเป็นครั้งแรกที่รัฐบาลไต้หวันแจ้งเตือนประชาชนทั่วทั้งเกาะไต้หวันให้ระวังภัยทางอากาศ

อุปกรณ์ IOT สุดล้ำ ช่วยเตือนภัย ทำงานได้แทนคน

Loading

  Techhub insight พาไปดูการใช้งานอุปกรณ์ IOT ที่ช่วยเก็บข้อมูล แจ้งเตือนน้ำท่วม และฝุ่นมลพิษได้จริง ในพื้นที่จริงป่าต้นน้ำ ที่สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ ร่วมกับมูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย เห็นความสำเร็จของโทรมาตร ระบบติดตามสภาพอากาศอัตโนมัติ จึงได้เริ่มต้นทำโครงการนำร่อง ติดตั้งอุปกรณ์วัดค่าฝุ่น PM2.5 ในพื้นที่ป่าต้นน้ำเพื่อให้ทราบสถานการณ์และวางแผนจัดการน้ำและอากาศได้ดีขึ้น   ข้อมูลหลัก ๆ ที่ได้จากการคำนวนของโทรมาตรคือปริมาณน้ำจากป่าต้นน้ำ ความเร็วของน้ำ ปริมาณน้ำฝน ปริมาณฝุ่น PM 2.5 และค่าอุณหภูมิแบบเรียลไทม์ซึ่งจะเป็นข้อมูลที่นำไปวางแผนเตือนภัยแจ้งเตือนประชาชนโดยไม่ต้องอาศัยกำลังคนจำนวนมากในการดูแล     ปัญญารัตน์ ปัญญาเกียรติสิริ นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการพิเศษ ยอมรับว่า ในช่วงที่ผ่านมามลพิษทางอากาศเป็นอีกหนึ่งปัญหาใหญ่ของภาคเหนือ เพราะปัจจัยหลาย ๆ อย่างหมอกควันที่เกิดจากการเผาเพื่อปรับเปลี่ยนพื้นทีทางการเกษตร และความกดอากาศต่ำที่มาจากประเทศทางใกล้เคียง ทำให้ฝุ่นละอองถูกกดอยู่ในพื้นที่เป็นแอ่งกระทะ ทำให้หมอกควัน และฝุ่น PM 2.5 กลายเป็นปัญหาจะสะสมยาวนานมาก   สิ่งหนึ่งที่จะช่วยแก้ปัญหาได้คือการเพิ่มพื้นที่สีเขียว ที่ช่วยจับ PM 2.5 โดยข้อมูลที่ได้จากโทรมาตรจะถูกนำไปใช้ช่วยวางแผนจัดการในพื้นที่ไหน กำหนดช่วงเวลาเผาในโซนชุมชน วางแผนเตือนภัยแจ้งเตือนประชาชนหากปริมาณน้ำฝนที่สูงเกิน…

ตำรวจไซเบอร์เตือนภัยจากมิจฉาชีพแฝงตัวสร้างเว็บลอยกระทงออนไลน์หลอกกรอกข้อมูล

Loading

  เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2565 พ.ต.อ.กฤษณะ พัฒนเจริญ โฆษกกองบัญชาการตำรวจสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (บช.สอท.) ขอประชาสัมพันธ์เตือนภัยมิจฉาชีพ ฉวยโอกาสใช้สถานการณ์วันสำคัญก่อเหตุ ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ต่าง ๆ ดังนี้   เนื่องในวันที่ 8 พ.ย.2565 ถือเป็นวันลอยกระทง ประชาชนส่วนใหญ่ก็จะออกมาทำกิจกรรม ร่วมกันสืบทอดประเพณีอันดีงาม และมีประชาชนบางส่วนที่ไม่ได้เดินทางออกมาร่วมกิจกรรม เนื่องจากเหตุผลหลายๆ ประการ โดยจะใช้บริการลอยกระทงออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ต่างๆ ของหน่วยงานรัฐ หรือหน่วยงานเอกชน ซึ่งจะมีการให้ประชาชนกรอกข้อมูลต่างๆ เพื่ออธิษฐานขอพรออนไลน์   ในการลอยกระทงออนไลน์ เหล่ามิจฉาชีพอาจอาศัยโอกาสดังกล่าวสร้างเว็บไซต์ปลอมขึ้นมาทั้งหมดหรือเว็บไซต์ปลอมที่คล้ายคลึงกับเว็บไซต์จริง เพื่อหลอกลวงให้ประชนกรอกข้อมูลส่วนบุคคล และข้อมูลทางการเงิน เช่น ชื่อนามสกุล วันเดือนปีเกิด เบอร์โทรศัพท์ หมายเลขบัตรประชาชน เลขบัญชีธนาคาร เลขบัตรเครดิต รหัสหลังบัตร 3 หลัก รหัส OTP เป็นต้น เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในทางมิชอบ ไม่ว่าจะเป็นการนำข้อมูลไปเข้าถึงบัญชีเฟซบุ๊ก ไลน์ โดยมิชอบ แล้วไปหลอกยืมเงินผู้อื่น หรือใช้บัตรเครดิตรูดซื้อสินค้า หรือถูกโอนเงินจากบัญชีธนาคาร หรือไปแอบอ้างทำเรื่องที่ผิดกฎหมาย…

NSA แนะให้องค์กรหลีกเลี่ยงการใช้ DNS Resolver จาก Third-party

Loading

NSA ได้ออกเตือนให้องค์กรเลิกใช้ DNS Resolver จาก Third-party เนื่องจากเสี่ยงต่อการถูกดักจับและเปิดเผยข้อมูลการใช้งานภายใน     NSA ได้ออกเอกสารแนะนำถึงประโยชน์ของการใช้ DNS over HTTPS (DoH) ในองค์กรไว้ที่ https://media.defense.gov/2021/Jan/14/2002564889/-1/-1/0/CSI_ADOPTING_ENCRYPTED_DNS_U_OO_102904_21.PDF ทั้งนี้เพื่อเข้ารหัสทราฟฟิค DNS ระหว่าง Client และ Resolver โดยไอเดียก็คือจริงๆแล้วองค์กรควรจะบังคับให้ทราฟฟิคของตนกับ Resolver ขององค์กรเท่านั้น เพื่อจะได้บังคับใช้การควบคุมด้าน Security ได้อย่างเหมาะสมหรือบริการภายนอกที่รองรับการเข้ารหัสทราฟฟิค DNS ได้เท่านั้น ในกรณีที่ DNS ขององค์กรยังไม่สามารถรองรับการเข้ารหัสทราฟฟิค DNS ได้ องค์กรควรจะบล็อกการเข้ารหัสของทราฟฟิคไปก่อน จนกว่า DNS ขององค์กรจะมีฟีเจอร์เข้ารหัส โดยสรุปแล้วความคาดหวังของ NSA คือพยายามใช้ DNS ภายในองค์กรเท่านั้นและควรรองรับการเข้ารหัสให้ได้ รวมถึงปิดกั้นไม่ให้ Client ไปใช้ DNS Resolver ที่องค์กรไม่ได้กำหนด ช้อมูลจาก : https://www.bleepingcomputer.com/news/security/nsa-advises-companies-to-avoid-third-party-dns-resolvers/  …