ขนาดเป็น AI ยังต้องรักชาติ รัฐบาลจีนสั่งสอบโมเดล AI ในประเทศ ต้องดำรงไว้ซึ่งหลักสังคมนิยม

Loading

รัฐบาลจีน เดินหน้าตรวจสอบ AI ในจีน ว่ามีการตอบสนองต่อประเด็นการเมืองรวมถึงการพูดถึงประธานาธิบดี สี จิ้นผิง อย่างไร

Unit 42 ของพาโล อัลโต้ เน็ตเวิร์กส์ เผยรายงานมัลแวร์บน Android ปลอมตัวเป็นแอป ChatGPT หลอกเหยื่อผู้ใช้สมาร์ตโฟนในไทย

Loading

  กรุงเทพฯ – 31 กรกฎาคม 2566, พาโล อัลโต้ เน็ตเวิร์กส์ ผู้นำระดับโลกด้านระบบรักษาความปลอดภัยไซเบอร์ ล่าสุดพบว่ามัลแวร์บน Android ที่แอบอ้างเป็นแชตบอต AI ชื่อดังอย่าง ChatGPT มีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยถูกปล่อยออกมาพร้อมกับการเปิดตัว GPT-3.5 และ GTP-4 ของ OpenAI เพื่อมุ่งเป้าไปที่เหยื่อที่มีความสนใจในเครื่องมือ ChatGPT   โทรจัน Meterpreter ที่ปลอมตัวเป็นแอป “SuperGPT” และ “ChatGPT” มีพฤติกรรมในการส่งข้อความพิเศษค่าบริการราคาแพงไปยังหมายเลขโทรศัพท์ในไทย ทำให้ผู้ใช้โดนคิดเงินอย่างไม่รู้ตัวและสร้างรายได้แก่คนร้ายมหาศาล ที่น่ากังวลก็คือ ผู้ใช้ Android สามารถดาวน์โหลดแอปได้จากหลายช่องทางนอกเหนือไปจาก Google Play Store ดังนั้นจึงมีความเสี่ยงที่ผู้ใช้จะได้รับแอปซึ่งไม่ได้ผ่านการตรวจสอบจาก Google   ข้อมูลสำคัญที่น่าสนใจมีดังนี้   •   การปลอมตัวเป็น ChatGPT: มัลแวร์ใหม่บน Android มีจำนวนเพิ่มขึ้นโดยปลอมตัวเป็น ChatGPT และถูกปล่อยออกมาในช่วงที่มีการเปิดตัว GPT-3.5…

เพราะอะไรถามคำถาม AI แล้วได้คำตอบผิด ๆ ในบางครั้ง

Loading

    จากการเปิดตัวเสิร์ชเอนจิน Bing เวอร์ชันใหม่ล่าสุดของ Microsoft ในต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา สิ่งที่มีความแตกต่างจากเสิร์ชเอนจินเจ้าอื่น ๆ ในตลาด คือ มีระบบแชตบอตที่สามารถให้คำตอบที่บรรยายเป็นคำพูดพร้อมกับความชัดเจน และกระชับเข้าใจได้อย่างง่ายยิ่งขึ้น   แต่หลังจากเปิดให้ใช้งานแชทบอทผู้ใช้ก็ได้สังเกตเห็นบางสิ่งบางอย่างที่แชทบอทยังให้คำตอบที่ไม่ถูกต้องที่ส่งผลให้ผู้ใช้งานเข้าใจผิดได้   เพื่อทำความเข้าใจทั้งหมดว่ามันเกิดอะไรขึ้น เราก็ต้องมารู้ว่าหลักการทำงานของแชตบอตมันทำงานได้อย่างไรเสียก่อน     1. เรานับว่าแชตบอต AI ทั้งหลายมีชีวิตหรือไม่ ?   คำตอบก็คือ ไม่มีชีวิต   ก็ดูแล้วเมื่อเราได้ถามคำถามไปยังแชตบอต แล้วรูปประโยคที่แชตบอตให้คำตอบออกมาก็ดูมีชีวิตเหมือนกับมนุษย์ตอบกลับมา สิ่งที่แชตบอตทำงานได้เพราะมีการขับเคลื่อนด้วยปัญญาประดิษฐ์ประเภทหนึ่งที่เรียกว่า โครงประสาทเทียม หรือ Neural Network ที่ฟังดูแล้วก็เหมือนสมองคอมพิวเตอร์ แต่คำนี้แหละที่ทำให้คนเข้าใจผิดไปกันใหญ่   โครงสร้างประสาทเทียม หรือ Nerual Network เป็นระบบคณิตศาสตร์ที่มีการเรียนรู้ทักษะจากการได้รับข้อมูลดิจิทัลที่มีการป้อนข้อมูลอยู่ตลอดเวลา   ในชีวิตประจำวันมนุษย์มีการใช้งานโครงข่ายประสาทเทียมอยู่ทุกวันโดยที่ไม่รู้ตัวเช่น เทคโนโลยีระบุตัวบุคคล, สัตว์ และสิ่งของที่อยู่ใน Google Photos, ผู้ช่วยคำสั่งเสียง Siri และ Alexa…